ผลกระทบของAEC ต่อภาคเกษตร นิพนธ์ พัวพงศกร สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย การสัมมนาและประชุมเชิงปฎิบตั ิ การ ในหัวข้อ “อาเซียน : บทบาทภาครัฐและ เอกชนในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อสู่การเตรียมกรอบประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในแง่การลงทุน โลจิสติกส์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จัดโดย คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 20 สิงหาคม 2555 ประเด็นอภิปราย • ภาวะการค้าสินค้าเกษตรใน ASEAN.

Download Report

Transcript ผลกระทบของAEC ต่อภาคเกษตร นิพนธ์ พัวพงศกร สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย การสัมมนาและประชุมเชิงปฎิบตั ิ การ ในหัวข้อ “อาเซียน : บทบาทภาครัฐและ เอกชนในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อสู่การเตรียมกรอบประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในแง่การลงทุน โลจิสติกส์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จัดโดย คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 20 สิงหาคม 2555 ประเด็นอภิปราย • ภาวะการค้าสินค้าเกษตรใน ASEAN.

ผลกระทบของAEC ต่อภาคเกษตร
นิพนธ์ พัวพงศกร
สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย
การสัมมนาและประชุมเชิงปฎิบตั ิ การ ในหัวข้อ “อาเซียน : บทบาทภาครัฐและ
เอกชนในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อสู่การเตรียมกรอบประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนในแง่การลงทุน โลจิสติกส์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดโดย คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
20 สิงหาคม 2555
1
ประเด็นอภิปราย
• ภาวะการค้าสินค้าเกษตรใน ASEAN : อาเซียนค้าขาย
กันเองมากน้ อยเพียงใด และใครเก่งอะไร
• ข้อตกลง AEC มีผลต่อเศรษฐกิจ-การค้า อย่างไร
• AEC จะเกิดผลกระทบตามที่คาดคะเนได้มากน้ อย
เพียงใด
• ความสามารถในการแข่งขัน : ไทยเก่งอะไร เพราะเหตุ
ใด
• อนาคตเกษตรไทยจะเป็ นอย่างไร
2
1. อาเซียนค้าขายกันเองมากน้ อยเพียงใด
ใครเก่งอะไร
• สรุป 1 : สินค้าที่อาเซียนมีความสามารถในการแข่งขัน
คือ ข้าว มัน น้าตาล (ไทย) ยาง (ไทย มาเลย์ อินโดนี เซีย)
• น้ามันปาล์ม (มาเลย์+อินโด) กาแฟ (เวียตนาม อินโด)
• กุ้ง (ไทย+VN+อินโด) ไก่ (ไทย เวียตนาม)
• สรุป 2 : อาเซียนส่งออกสินค้าเกษตรจานวนมาก ไปขาย
ตลาดโลก แต่ขณะเดียวกันก็ต้องนาเข้าสินค้าเกษตรบาง
ชนิด
3
1. อาเซียนค้ าขายกันเองมากน้ อยเพียงใด ใครเก่ งอะไร (ต่ อ)
• สรุป 3 : แต่อาเซียนกลับมีการค้าขายระหว่างกันน้ อย
ประมาณ 1 ใน 4 ของการส่งออกทัวโลก
่
• สรุป 4 : ทาไมอาเซียนจึงค้าขายสินค้าเกษตรกับน้ อย
มาก
–ปลูกพืชชนิดเดียวกัน เพราะภูมิอากาศคล้ายกัน
–นโยบายปลูกเพื่อเลี้ยงตัวเอง และกีดกันการนาเข้า
–บางประเทศนาเข้าโดยใช้องค์กรค้าของรัฐ....มีปัญหาการ
ทุจริต เล่นพวก
4
1. อาเซียนค้ าขายกันเองมากน้ อยเพียงใด ใครเก่ งอะไร (ต่ อ)
• อาเซียนหลายประเทศเป็ นผูส้ ่งออกสินค้าเกษตรราย
สาคัญของตลาดโลก เช่น อินโดนี เซีย ไทย มาเลเซีย
เวียดนาม (และพม่าในอนาคตอันใกล้)
สั ดส่ วนการส่ งออกสิ นค้ าเกษตรของประเทศในอาเซียนไปยังตลาดโลก ปี 2552
2.50
2.00
2.24
2.16
1.95
1.50
1.00
0.50
0.00
0.61
0.27
0.09
0.01
0.01
5
อาเซียนส่งออกสินค้าเกษตรไปอาเซียนน้ อย แต่การ
นาเข้ามาจากอาเซียนมาก แสดงว่าอาเซียนมี
ความสามารถในการผลิต และส่งออกสูง
ASEAN Agricultural trade 2011
Export
Import
IntraASEAN
20%
Other
80%
Source: International Trade Centre (ITC)
IntraASEAN
34%
Other
66%
6
• อาเซียนยังค้าขายกันเองน้ อย แต่มีแนวโน้ มสูงขึน้
ASEAN exports
Thai’s exports
มูลค่าส่งออกสิ นค้าเกษตรไปยังตลาดโลก และร้อยละ
การส่งออกไปยังกลุ่มอาเซียน ค่าเฉลี่ยปี 2552-54
มูลค่าส่ งออกสินค้าเกษตรของไทยไปยังตลาดโลก
และร้ อยละการส่ งออกไปยังกลุ่มอาเซียน (H5-8 หลัก)
มูลค่าส่งออกไปยังตลาดโลก
35
30
30,000,000
ร้อยละการส่งออกไปยังอาเซียน
30
25,000,000
26
25
20
15
20
19
17
20,000,000
15,000,000
10,000,000
10
5
5,000,000
0
0
ที่มา : MANUCOM กระทรวงพาณิชย์
7
สินค้าหลักที่ขายในอาเซียน คือ ข้าว น้าตาล
Intra-ASEAN Export of Agricultural Products
Share
Value
57%
60%
6
4.89
41%
3.33
3
32%
2.91 2.67
2.35 2.51
1.82
1.46
29%
30%
13% 12%
14%
9%
0%
0
2010
2010
2011
2011
Share of Intra-ASEAN Export
Value of Intra-ASEAN Export (Bil.US$)
Palm oil
Natural rubber
Palm oil
Natural rubber
Rice
Cane or beet sugar
Rice
Cane or beet sugar
Source: International Trade Centre (ITC)
8
ASEAN Agricultural Products
Import
Value
100%
6
99%
Share
90% 90%
99%
92%
87%
3.94
3
2.14
2.54
2.66 2.64
2.19
50%
50%
42%
1.80
1.08
0%
0
2010
2010
2011
2011
Share of Intra-ASEAN Import
Value of Intra-ASEAN Import (Bil.US$)
Palm oil
Natural rubber
Palm oil
Natural rubber
Rice
Cane or beet sugar
Rice
Cane or beet sugar
Source: International Trade Centre (ITC)
9
ผูน้ าเข้ารายใหญ่ในอาเซียน : Singapore Malaysia
ผูส้ ่งออกรายใหญ่: ไทย มาเลย์
ปี 2011
Value of Import from Intra-ASEAN
(Bil.US$)
Thailand,
0.44, 10%
Value of Export from Intra-ASEAN
(Bil.US$)
Indonesia,
0.55, 13%
Thailand,
1.75, 31%
Malaysia,
1.29, 31%
Singapore,
1.49, 35%
Philippines,
0.46, 11%
Indonesia,
1.03, 18%
Malaysia,
1.45, 26%
Singapore,
1.21, 21%
Philippines,
0.23, 4%
Source: International Trade Centre (ITC)
10
ASEAN-6 Agricultural Products Trade By Counties
มาเลย์ -สิงคโปร์ นาเข้ ามาก
Share of Import
Value of Import
8.77
10
2.10 1.48
2.00
1.49
0.55 1.29 0.46
0.44 0.27
33%
30%
5.21
4.19
5
46%
50%
25%
18%
17%
24%
19%
14%
25%
0%
0
2001
2001
2011
2011
Share of intra-ASEAN import
Value of Import from ASEAN (Bil.US$)
Indonesia
Malaysia
Philippines
Indonesia
Malaysia
Philippines
Singapore
Thailand
Viet Nam*
Singapore
Thailand
Viet Nam*
ไทย-มาเลย์ ส่งออกมาก
Value of Export
10
5
26%
39%
29%
7.55
8.81
50%
0.74
2.16
25%
42%
40%
6.07
4.02
1.03 1.45 0.23 1.21 1.75 0.50
Share of Export
18%
26%
15% 12%
12%
17% 18% 14%
19% 16%
0%
0
2001
2011
Value of Export from ASEAN (Bil.US$)
2001
2011
Share of intra-ASEAN export
Indonesia
Malaysia
Philippines
Indonesia
Malaysia
Philippines
Singapore
Thailand
Viet Nam*
Singapore
Thailand
Viet Nam*
Note: Viet Nam, 2009 data.
Source: International Trade Centre (ITC)
11
• สินค้าส่งออกสาคัญของอาเซียน คือ ข้าว น้าตาล มัน ยาง
น้ามันปาล์ม ยังส่งออกไปอาเซียนไม่มาก
มูลค่ าส่ งออกข้ าวของไทยไปยังตลาดโลก
และร้ อยละการส่ งออกไปยังกลุ่มอาเซียน
มูลค่ าส่ งออกข้ าวไปยังตลาดโลก และร้ อยละ
การส่ งออกไปยังกลุ่มอาเซียน ค่ าเฉลีย่ ปี 2552-54
60
% ส่ งออกไปอาเซี ยน
มูลค่าส่งออกไปยังตลาดโลก
ร้อยละการส่งออกไปยังอาเซียน
55
50
40
US Dollar
6000000
5000000
4000000
30
3000000
40
35
10
2000000
13
0
ไทย
เวียดนาม
ล้านบาท
10
1000000
5
0
0
200,000
ร้อยละการส่งออกไปยังอาเซียน
26 27
25
20
250,000
มูลค่าส่งออกไปยังตลาดโลก
30
15
20
% ส่ งออกไปอาเซี ยน
37
28
26
150,000
22
18 18
19
16
17 18
20
17 17
13
12 12 13
15100,000
9
50,000
0
2534 2536 2538 2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552 2554
12
• สินค้ าส่ งออกสาคัญของอาเซียน คือ ข้ าว นา้ ตาล มัน ยาง
นา้ มันปาล์ ม ยังส่ งออกไปอาเซียนไม่ มาก (ต่ อ)
มันสาปะหลัง
นา้ ตาล
ยางพารา
13
ASEAN Agricultural Major Products Import By Countries
Indonesia
ข้ าว-นา้ ตาล-แป้ง
2
Indonesia
98%
100%
75%
1.48
53%
0.86
1
0.07
0.13
54%
0.22
0.01
0
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Rice
Cane or beet sugar
Starches
Rice
3
100%
1.92
2
0.04
99%
Cane or beet sugar
100%
Starches
Malaysia
98%
97%
97%
83%
1.89
1.11
0.28
2011
Share of intra-ASEAN import
Malaysia
1
49%
41%
50%
50%
0.07
0
0%
2001
2011
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Natural rubber
Palm oil
Coconut
Source: International Trade Centre (ITC)
2001
2011
Share of intra-ASEAN import
Natural rubber
Palm oil
Coconut
14
ASEAN Agricultural Major Products Import By Countries
ข้ าว-นา้ มันพืช
Philippines
1
100%
Philippines
97%
98%
75%
56%
0.37
0.12
0.00
0.33
0.23
41%
50%
12%
0.06
0
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Rice
Animal or vegetable fats & oils
Share of intra-ASEAN import
Food preparations
Rice
Singapore
1
2011
100%
0.76
Animal or vegetable fats & oils
100%
99%
Singapore
96%
100%
Food preparations
99%
97%
0.49
0.23
0.08
0.09
50%
0.01
0
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Palm oil
Natural rubber
Edible products of animal origin
Source: International Trade Centre (ITC)
2011
Share of intra-ASEAN import
Palm oil
Natural rubber
Edible products of animal origin
15
ASEAN Agricultural Major Products Import By Countries
ปลา-malt
Thailand
1
Thailand
99%
99%
100%
50%
0.12
0.20
0.01
0.01
0.17
50%
0.11
0
19%
11%
10%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
2011
Share of intra-ASEAN import
Fish
Malt extract
Fish
Malt extract
Edible products of animal origin
Animal or veg fats, oils
Edible products of animal origin
Animal or veg fats, oils
ปาล์ ม-ยาง
Viet Nam
1
100%
Viet Nam
99%
99%
93%
62%
50%
0.34
0.05
0.16
0.00
0.00
42%
33%
0.11
0
0%
2001
2009
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Palm oil
Natural rubber
Maize
Source: International Trade Centre (ITC)
2001
2009
Share of intra-ASEAN import
Palm oil
Natural rubber
Maize
16
ASEAN Agricultural Major Products Export By Countries
Palm oil มะพร้ าว
Indonesia
2.79
3
Indonesia
100%
2
50%
0.94
1
0.53
0.11
10%
0.05
0.03
0
31%
10%
6%
16%
5%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Palm oil
Coconut
Share of intra-ASEAN export
Natural rubber
Palm oil
Coconut
Palm oil
Malaysia
1.88
2
2011
Natural rubber
Malaysia
100%
64%
1
55%
50%
0.20
0.04
0.04
0.29
0.26
0
8%
12%
11%
10%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Palm oil
Animal or veg fats, oils
Malt extract
Source: International Trade Centre (ITC)
2011
Share of intra-ASEAN export
Palm oil
Animal or veg fats, oils
Malt extract
17
ASEAN Agricultural Major Products Export By Countries
นม ผลไม้
Philippines
1
100%
Philippines
98%
78%
71%
48%
50%
0.03
0.01
0.01
0.12
0.07
24%
0.06
0
5%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Milk and cream
Preserved fruits
2011
Share of intra-ASEAN export
Natural rubber
Milk and cream
Preserved fruits
Singapore
Natural rubber
Singapore
1
95%
100%
0.41
50%
0.38
0.24
0.03
0.00
42%
50%
47%
39%
10%
0.05
0
0%
2001
2011
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Malt extract
Cloves
Food preparations
Source: International Trade Centre (ITC)
2001
2011
Share of intra-ASEAN export
Malt extract
Cloves
Food preparations
18
ASEAN Agricultural Major Products Export By Countries
ข้ าว นา้ ตาล ยาง
Thailand
1.85
2
100%
1.62
0.99
1
46%
50%
0.21
0.32
Thailand
0.28
44%
18%
16%
0
15%
14%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Natural rubber
Cane or beet sugar
Rice
Share of intra-ASEAN export
Starches
Natural rubber
Cane or beet sugar
ข้ าว กาแฟ ปลา
Viet Nam
2011
2
Rice
Starches
Viet Nam
100%
1.34
1
50%
0.25
0.02
0.00
0.10
50%
40%
0.10
0
6%
6%
6%
6%
0%
2001
2009
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Rice
Coffee
Fish fillets and pieces
Source: International Trade Centre (ITC)
2009
Share of intra-ASEAN export
Rice
Coffee
Fish fillets and pieces
19
ดัชนี วดั ความสามารถในการแข่งขัน
Revealed Comparative Advantage
ถ้า RCA > 1 แข่งขันได้
ยิ่ง RCA แข่งขันดีขึน้
20
• ดัชนี ความสามารถในการแข่งขัน (RCA) สินค้าเกษตร
ของอาเซียน : ไทย อินโดนี เซีย และเวียดนามเก่งที่สดุ
เวียดนาม
ฟิลิปปินส์
มาเลเซีย
อินโดนี เซีย
กัมพูชา
ลาว
พม่า
จีน
ความสามารถในการแข่งขัน (RCA) ของประเทศไทยเทียบกับคู่แข่ง
ในการส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2544-2553 (HS 6 หลัก)
เก่งกว่า
1
-
-
-
-
-
-
-
ด้อยกว่า
7
8
8
8
5
6
7
8
เก่งกว่า
5
1
-
1
-
1
4
2
ด้อยกว่า
11
15
16
15
12
14
12
14
ความสามารถใน
ไทย คู่แข่ง
การแข่งขันของไทย
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1)
และ RCA สูงขึน้
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1)
แต่ RCA ลดลง
8
16
21
กัมพูชา
ลาว
พม่า
จีน
11
อิ นโดนี เซีย
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1)
และ RCA ลดลง
34
คู่แข่ง
มาเลเซีย
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1)
แต่ RCA สูงขึน้
ไทย
ฟิ ลิ ปปิ นส์
ความสามารถในการ
แข่งขันของไทย
เวียดนาม
ความสามารถในการแข่งขัน (RCA) ของประเทศไทยเทียบกับคู่แข่ง
ในการส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2544-2553 (HS 6 หลัก) (ต่อ)
เก่งกว่า
5
2
20
8
1
1
6
9
เทียบ
เท่ากัน
11
6
7
8
1
4
5
7
ด้อยกว่า
16
15
7
18
11
11
8
18
เก่งกว่า
6
1
8
3
2
3
7
9
เทียบ
เท่ากัน
1
3
-
-
-
1
1
-
ด้อยกว่า
4
5
3
6
3
3
2
2
RCA สินค้าเกษตร ของอาเซียน ปี 2544-2553 (HS 6 หลัก) (ต่อ)
ไทย อินโดนี เซีย เวียตนาม เก่งที่สดุ
ความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศอาเซียน
ไทย
เวียดนาม
อินโดนี เซีย
มาเลเซีย
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1) และ
RCA สูงขึน้
8
12
9
6
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1) แต่
RCA ลดลง
16
10
6
2
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1) แต่
RCA สูงขึน้
34
9
12
25
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1) แต่
RCA ไม่เปลีย่ นแปลง
0
15
21
12
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1) และ
RCA ลดลง
11
21
21
24
ทีม่ า: สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย
2. ข้อตกลง AEC เกษตร มีผลต่อ
เศรษฐกิจการค้าอย่างไร
 ทาไมจึงต้องมี AEC : ความสาคัญของการเปิดเสรี
ภาคเกษตรในอาเซียน
ข้อตกลง AEC ด้านการค้า-การลงทุนสินค้าเกษตร
 ผลกระทบของการเปิดเสรี AEC
24
2. ข้อตกลง AEC เกษตร มีผลต่อ
เศรษฐกิจการค้าอย่างไร
2.1 ทาไมจึงต้องมี AEC : ความสาคัญของการเปิดเสรีภาคเกษตรใน
อาเซียน
– ASEAN มีความจาเป็ นต้องปรับสมดุลทางเศรษฐกิจใหม่ (growth
rebalancing)…โดยอาศัยการค้า และ การลงทุนใน ASEAN
 ความล้มเหลวของการเจรจารอบโดฮา
 เศรษฐกิจตะวันตกชะลอตัวอีกนาน
– ประเทศส่วนใหญ่ในอนุภมู ิ ภาคลุ่มน้าโขงยากจน และพึง่
เกษตรเป็ นหลัก
 การเปิดเสรีตลาดสินค้าเกษตรจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ และลด
ความยากจนในภูมิภาคลุ่มน้าโขง
25
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
2.2 ข้ อตกลง AEC 3 เสาหลัก
26
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
– ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 4 เป้ าหมาย เปิดเสรี 5 ด้าน : การค้า
สินค้า การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือ
27
28
29
30
พันธกรณีของไทยภายใต้ AFTA
31
32
33
แต่ในทางปฏิบตั ิ ทุกประเทศยังคง
กีดกันการค้า-การลงทุนภาคเกษตร
• ดารงอัตราภาษี สงู สาหรับสินค้าอ่อนไหว
• ใช้ non-tariff measures กีดกัน
• จากัดการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ
34
มาตรการรองรับการเปิดตลาดสินค้าเกษตรของไทย
• จัดระบบบริหารการนาเข้า
1. กาหนดให้เป็ นสินค้าที่ต้องขออนุญาตนาเข้าและกาหนดคุณสมบัติผน้ ู าเข้า
(คต.)
2. กาหนดมาตรฐานการผลิต เช่น ต้องมีใบร้บรองปริมาณสารพิษตกค้าง
3. กาหนดมาตรการสุขอนามัน (SPS) ที่เข้มงวด เช่น ต้องแสดงใบรับรอง
สุขอนามัยจากหน่ วยงานที่เชื่อถือได้ในประเทศต้นทาง (อย.)
4. ตรวจเข้มใบรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า (กรมศุลกากร)
5. กาหนดด่านนาเข้า (ให้นาเข้าได้เฉพาะด้านอาหารและยา และด่านตรวจพืช)
6. กาหนดช่วงเวลานาเข้า
7. ต้องรายงานการนาเข้า การใช้ การจาหน่ ายและสต๊อคคงเหลือภายใน 1 เดือน
และมีบทลงโทษหากไม่ดาเนินการ
• จัดทาระบบติดตามการนาเข้า
• ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
35
การเปิดเสรีด้านการลงทุนของไทย (เฉพาะภาคเกษตรและอุตสาหกรรม)
สาขา
1) การเปิ ดตลาด
1.1 ข้ อยกเว้ นชั่วคราว TEL
ก) ไม่ เปิ ดให้ นักลงทุนต่ างชาติ
เงื่อนไข
- ไม่ มี
- ไม่ มี
- การตัดต่ อพันธุ์ หรือ
การผสมพันธุ์พชื
- การเพาะเลีย้ งสั ตว์ นา้ ทะเล
- การทาป่ าเศรษฐกิจ
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50% ถ้ าเกินต้ องขออนุญาติ
- มีเงื่อนไขการขออนุญาติ เช่ น BOI เงินทุนขั้นต่า 3
ล้านบาท
ก) ไม่ เปิ ดให้ นักลงทุนต่ างชาติ
- ไม่ มี
- ไม่ มี
ข) เปิ ดให้ ต่างชาติลงทุน แต่ มเี งื่อนไข
- ทอ/พิมพ์ผ้าไหม
- เฟอร์ นิเจอร์ ไม้
- แกะสลักไม้
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50% ถ้ าเกินต้ องขออนุญาติ
- ทุนไทยไม่ ต่ากว่ า 40% หรือน้ อยกว่ า แต่ ต้องไม่ ต่า
กว่ า 25% โดยได้ อนุญาติ
- เน้ นทุนขั้นต่า 3 ล้านบาท
- เงื่อนไขอืน่
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50%
- ทุนขั้นต่า 3 ล้านบาท
- เงื่อนไขอืน่
ข) เปิ ดให้ ต่างชาติลงทุน แต่ มเี งื่อนไข
1.2 Sensitive list
ค) เฉพาะนักลงทุนนอกอาเซียน
-
โรงสี
ไม้ อดั
นาเกลือ
การเลีย้ งหม่ อน
การตัดต่ อพันธุ์พชื หรือ
ผสมพันธุ์พชื
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50%
- เงือ่ นไขอืน่
36
Sensitive list ของการปฏิบตั ิ เยี่ยงคนชาติ-การลงทุนภาค
เกษตรและอาหารของนักลงทุนอาเซียนในไทย
รายการ
1. การถือหุ้นของต่ างชาติ
2. Capital requirement
-
3. ใบอนุญาต
ที่มา : กรมเจรจาการค้ า
-
การปฏิบัติ
ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50% ของทุนจดทะเบียน
ถ้ า > = 50% ต้ องทาตามเงื่อนไขต่ างๆ เช่ น
ได้ รับอนุมตั จิ าก รมว.พาณิชย์ หรือ BOI
สาขาทีเ่ ปิ ดแบบมีข้อจากัดภายใต้ TEL และ SL
ต้ องมีเงินลงทุนขั้นตา่ ตามกฎเกณฑ์ และต้ องไม่
ต่ากว่ า 3 ล้านบาท
สาขาทีเ่ ปิ ดโดยไม่ มีข้อจากัด ต้ องมีเงินทุนขั้น
ต่าตามกฎเกณฑ์ และไม่ ต่ากว่ า 2 ล้านบาท
ธุรกิจภายใต้ TEL และ SL ต้ องได้ ใบอนุญาติ
กรมธุรกิจการค้ า
37
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
• 2.3 ผลกระทบของการเปิดเสรี AEC : แบบจาลอง
dynamic CGE (งานวิจยั ของ ADB 2010)
–วัดผลกระทบจากการเปิดเสรีของ CLMV และจีน
–Scenario Total factor productivity ภาคเกษตรและ
อาหารเพิ่มปี ละ 4% (สูงกว่าค่าเฉลี่ยในอดีต)
–Scenario 2 : trade facilitation  trade cost ใน GMS
ลดลง 50%
–Scenario 3 : FDI เท่ากับ 4% ของ GDP ใน GMS
38
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
• ผลต่อ GDP growth จาก Simulation 3 scenarios
ไทยได้ ประโยชน์ น้อยที่สุด โดยได้ จากภาคอุตสาหกรรม และ
นาเข้ าสินค้ าเกษตรเพิ่มขึน้ มาก
39
40
41
3. AEC จะก่อให้เกิดผลกระทบจริงเท่าใด :
• 3.1 ผลกระทบจริงของ AECจะน้ อยกว่าผล simulation
• ค่า simulation เป็ นผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
ในระยะยาว และตลาดทางานได้เต็มที่
–ผลกระทบจริงจะค่อยๆเกิดขึน้
• อัตราการใช้ประโยชน์ จากสิทธิพิเศษด้านภาษี (tariff
preferential) ยังค่อนข้างตา่
• Trade costs ยังสูงกว่า tariff preferential: การขนส่ง
แพง กฎระเบียบการค้าข้ามแดนยังยุ่งยาก
42
อัตราใช้ ประโยชน์ จากสิทธิพเิ ศษด้ านภาษีต่า
43
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• อาเซียนผลิตสินค้าเกษตรที่แข่งขันกันสูง ค่า spearman
rank correlation เป็ นบวก
• สินค้าส่งออกสาคัญของอาเซียนถูกอาเซียนกีดกัน
เพราะทุกประเทศมีนโยบายผลิตให้พอเลีย้ งตัวเอง
–มาตรการกีดกันมีทงั ้ sensitive list, HSL และมาตรการที่
ไม่ใช่ภาษี (NTM) เช่น มาตรการด้านสุขอนามัย และ
สิ่งแวดล้อม
–ตัวอย่าง: ใบอนุญาตนาเข้ากาหนดเวลานาเข้า และ ชนิด
สินค้าที่อนุญาติ
–มาตรการลงทุนก็ยงั ยุ่งยาก ยกเว้นการขอ BOI
44
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• การค้าสินค้าเกษตรในอาเซียน ยังห่างไกลจากสภาพ
“การค้าเสรี”……
• การที่ราชการไทยโหมป่ าวประกาศ “AEC 2015 จะ
ก่อให้เกิดการลงทุนจากอาเซียน การเคลื่อนย้ายทุนเสรี
และการเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพโดยเสรี” เป็ นแค่
“มายาคติ”
• (ดูงานวิจยั ของดร.เดือนเด่น เรื่องการค้าบริการ)
45
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• 3.2 ถ้าเช่นนัน้ การค้า การลงทุนเกษตรในอาเซียน
เกิดจากอะไร
–การเปิดเสรีฝ่ายเดียวของแต่ละประเทศตัง้ แต่ 1980s
CP ลงทุนในอินโดนี เซีย เวียตนามนานแล้ว
–AFTA
–ข้อตกลงการค้าการลงทุนระดับทวิภาคี และระดับ
ภูมิภาค เช่น ACMEC…เช่น contract farming ใน
GMS โรงงานน้าตาลไทยในเขมร ลาว เวียตนาม
46
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• 3.3 ในอนาคต มูลค่าการค้าระหว่างอาเซียน และอาเซียนกับ
จีน มีโอกาสเพิ่มขึน้ เมื่อรายได้ต่อหัวในภูมิภาคสูงขึน้
– การเปิดเสรีตลาดเกษตรอย่างจริงจังให้แก่เพื่อนบ้านที่ยากจนใน
GMS รวมทัง้ การสนับสนุนนักลงทุนจากไทย/มาเลเซีย/สิงคโปร์
ไปลงทุนภาคเกษตร และโรงงานแปรรูปใน CLMV
– จะช่วยให้คนใน GMS มีฐานะดี มีเงินมาซื้อสินค้าจากไทย และลด
ปัญหาสังคมจากคนงานต่างชาติ
– รายได้ต่อหัวที่สงู ขึน้ ของไทย มาเลเซีย อินโดนี เซียและจีนจะ
ก่อให้เกิดความต้องการสินค้าอาหารแปรรูปที่ผลิตในอาเซียน
เพิ่มขึน้ ...อาหารแปรรูป เนื้ อสัตว์ ผัก-ผลไม้
– แต่ทงั ้ หมดจะไม่เกิดขึน้ หากรัฐบาลยังคงใช้นโยบายแทรกแซง
ตลาดสินค้าเกษตรอย่างหนัก
47
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• 3.4 ผลกระทบด้านการกระจายรายได้ : ใครได้
ประโยชน์
–ผูส้ ่งออกรายใหญ่
–โรงงานแปรรูปอาหารรายใหญ่
–เกษตรกรที่มีประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตสูง
โดยเฉพาะเกษตรกรรายใหญ่ ในเขตชลประทาน และ
เกษตรกรหัวก้าวหน้ าที่มีเทคโนโลยีและมีข้อมูลข่าวสารที่
ช่วยให้ปรับตัวได้ก่อนผูอ้ ื่น
–ผูบ้ ริโภค
48
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• ใครเสียประโยชน์ : CGE คานวณแต่ gain from trade
(พืน้ ที่ เบือ้ งหลังผลประโยชน์ จากการค้า มีเกษตรกร
จานวนมากที่จะล้มหายตายจาก หรือเปลี่ยนอาชีพ
เพราะมีต้นทุนสูง แข่งขันไม่ได้ (พืน้ ที่ 
– ปี 2547 รัฐตัง้ กองทุนปรับโครงสร้างการผลิต 583 ล้านบาท
14 โครงการ 8 สินค้า
– แต่กองทุนช่วยเหลือการปรับตัวใช้ไม่ได้ผล เพราะการ
เปลี่ยนอาชีพไม่ใช่เรื่องง่าย และรายได้สทุ ธิอาจตา่ กว่าเดิม
– บทบาทนักวิชาการและข้าราชการ จะต้องช่วยศึกษาวิจยั หา
มาตรการสนับสนุนการปรับตัวของเกษตรกรที่ต้นทุนสูงให้
สามารถมีชีวิตความเป็ นอยู่เท่าเดิม หรือดีขึน้
49
4. อนาคตภาคเกษตรไทย
• ความสามารถในการแข่งขัน
• possible scenarios
• แนวนโยบายที่เหมาะสม
–ประสิทธิภาพการปรับตัว
–เกษตรกรที่ยากจน
50
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
4.1 ความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรของไทย
• แนวโน้ ม RCA (Revealed comparative advantage) ของ
ข้าวไทยยังทรงตัว (ก่อน ต.ค. 2554)
• ไทยได้เปรียบข้าวประเภทใด
– ข้าวขาว ข้าวหอมมะลิ ข้าวนึ่ ง
• RCA มันสาปะหลัง ทรงตัวระดับสูง แต่ขณะนี้ พ่อค้า
กังวลเรื่องต้นทุนของไทยเทียบกับเขมร-เวียตนาม
• RCA ยางเริ่มเสียเปรียบอินโดนี เซีย
• RCA น้าตาล-ไก่ ยังทรงตัว
51
Figure 2.20 Thailand and major rice exporting
countries' RCA in the world market, 2001-2010
100
90
80
70
60
RCA Pakistan
RCA Viet Nam
RCA Thailand
50
RCA Myanmar
RCA India
40
RCA United States of America
30
20
10
0
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
Sources : ITC calculations based on COMTRADE statistics.
2010
52
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
Figure 2.19 Thailand and major cassava exporting
countries' RCA in the world market, 2001-2010
25
20
15
Thailand
Costa Rica
Viet Nam
Indonesia
10
Brazil
China
Colombia
5
0
Sources : ITC calculations based on COMTRADE statistics.
53
54
55
Figure 2.23 Thailand and major chicken exporting
countries' RCA in the world market, 2001-2010
25
20
15
RCA Brazil
RCA Thailand
RCA United States of America
RCA China
10
5
0
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
Sources : ITC calculations based on COMTRADE statistics.
2010
56
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• สาเหตุที่ไทยได้เปรียบโดยเปรียบเทียบนาน: ข้าว
–ประเทศเพื่อนบ้านมีนโยบายทาร้ายตนเองเป็ น
เวลานาน : สังคมนิยมในเวียดนาม เขมร ลาว พม่า
–อินเดียห้ามส่งออกข้าว non-Basmati จนถึงกันยายน
2555 ทาให้ไทยยึดครองตลาดข้าวนึ่ ง
–ต้นทุนปลูกข้าวไทย เริ่มถีบตัวสูงขึน้ มาก
งานวิจยั ของ อ.สมพร
57
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• สาเหตุที่ไทยได้เปรียบ (ต่อ)
–แต่ logistics ไทยดีกว่า : ส่งมอบทันเวลา และน่ าเชื่อถือ
ที่สดุ เพราะมีข้าวขายทัง้ ในปริมาณและคุณภาพที่ผซู้ ื้อ
ต้องการ
งานวิจยั การค้าข้าวของเขมร-เวียดนาม ต้นทุน
logistics ของ Tom Slayton
–คุณภาพข้าวไทยดีกว่าคู่แข่ง : ราคาสูงกว่า
การแข่งขันของผูส้ ่งออกและโรงสี ทาให้ชาวนาที่มีข้าว
คุณภาพ ขายข้าวได้ราคาดี
โรงสีปรับปรุงคุณภาพการสีข้าวตลอดเวลา
58
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• แต่แนวโน้ มความสามารถของไทยกาลังลดลงรวดเร็ว
– นโยบายจานาข้าวช่วยสนับสนุนการส่งออกและชาวนาใน
ประเทศคู่แข่ง
– ความหวังลมๆแล้งๆ ของรัฐบาล : หวังว่าจะขายข้าวราคาแพง
(เดิมตัง้ ไว้ $830) ต่อมาปลอบใจตัวเองว่าเมื่อเวียดนามขาย
ข้าวหมดแล้วจะเป็ นโอกาสทองของไทย
– ในไม่กี่ปี ความได้เปรียบด้าน logistics & ความน่ าไว้วางใจ จะ
หมดไป...เมื่อหมดแล้ว จะสร้างใหม่ยาก (sunk loss)
– พม่า และเวียดนามจะเป็ นผูส้ ่งออกรายใหญ่ของโลกแทนไทย
59
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
ความสามารถในการแข่งขันด้านน้าตาล
• อาเซียนมีผผู้ ลิตหลายประเทศ : ไทย ฟิลิปปินส์
อินโดนี เซีย เวียดนาม
• แต่ไทยส่งออกมากที่สดุ และส่งขายอาเซียนทุกประเทศ
60
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• สาเหตุที่ไทยมีความสามารถในการแข่งขันน้าตาล
– นโยบายคุ้มครองอุตสาหกรรมอ้อย-น้าตาล ก่อให้เกิดค่าเช่า
เศรษฐกิจมโหฬาร แก่ชาวไร่และโรงงาน
• โรงงานไทยขยายกาลังการผลิตเกินตัว จนต้องแย่งอ้อย
กันทาให้บางแห่งจาเป็ นต้องปรับปรุงประสิทธิภาพ
• ฟิลิปปินส์ขาดแรงจูงใจในการแข่งขัน เพราะได้โควต้า
น้าตาลสหรัฐอเมริกา
• อินโดนี เซียต้องนาพืน้ ที่ไปปลูกข้าว
• อินเดียมีนโยบายควบคุมตลาดน้าตาลในรัฐต่างๆ....แต่
เริ่มลดการควบคุมลงจนมีส่วนเกินพอต่อการส่งออก
• ผูป้ ระกอบการไทยไปลงทุนในเวียดนาม จีน เขมร
61
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
ความสามารถในการแข่งขันด้านน้ามันปาล์ม
• ไทย ผลิตได้ไม่พอบริโภค
• สาเหตุที่ไทยขาดความสามารถในการแข่งขัน
– ภูมิอากาศไทยไม่เหมาะสมเท่าประเทศเพื่อนบ้าน : ปาล์มไม่อาจ
ขาดน้าเกิน 3 เดือนติดต่อกัน....ยกเว้นพืน้ ที่บางแห่งในภาคใต้
– สวนปาล์มที่มี economies of scale ต้องมีขนาดหลายร้อยไร่ขึน้ ไป
แต่ไทยมีสวนปาล์มขนาดเกินหนึ่ งพันไร่จานวนน้ อย (10-20 ราย)
– แม้จะมีนโยบายคุ้มครอง (ห้ามนาเข้า) และให้การส่งเสริม แต่
นโยบายคุมราคาค้าปลีก กลับทาให้เกิดการขาดแคลนในปี 2553
– คู่แข่งอย่างมาเลเซีย มีทงั ้ ประสบการณ์ด้านการจัดการสวนปาล์ม
ขนาดใหญ่ (plantation) และการส่งเสริมการวิจยั อย่างจริงจัง
– อินโดนี เซียมีพืน้ ที่มาก ค่าแรงถูก และมีบริษทั มาเลเซียเข้าไป
62
ลงทุน
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• อนาคต : 3 possible scenarios
– (1) รัฐใช้นโยบายจานาสินค้าเกษตรต่อไป...ปลูกข้าวมากขึน้ แต่
ขาดทุน.....ปลูกพืชอื่นน้ อยลง...ความเสื่อมสลายของภาคเกษตรไทย
– (2) เป็ นไปตามกลไกราคาและ comparative advantage
 เกษตรกรไทยปรับตัวตอบสนองราคาเปรียบเทียบ :
เหมือนในอดีต
 ภาคเกษตรแข่งขันได้ แต่ขนาดของภาคเกษตรเล็กลง....และฟาร์ม
อาจใหญ่ขึน้ ใช้เครื่องจักรมากขึน้ เพราะแรงงานเกษตรลดลง แต่
labor productivity สูงขึน้
– (3) เสริม บทบาทของตลาด (complementing the market) เพื่อผลิต
และส่งออกสินค้าคุณภาพ/สินค้ามูลค่าสูง และนาเข้าสินค้ามูลค่าตา่ ....
ภาคเกษตรจะยังเข้มแข็งขึน้ และส่งออกในรูปอาหารมากขึน้
63
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• แนวนโยบาย
– การวิจยั ด้านต่างๆเพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้า และเพิ่มผลิต
ภาพแรงงาน
การวิจยั ด้านเทคโนโลยี การจัดการ โลจีสติกส์
การวิจยั ภาคเอกชน
– การส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนในต่างประเทศ : ไทย
ขายเทคโนโลยีการเกษตร
– จะเป็ นครัวโลกได้ครัวไทยต้องสะอาดปลอดภัย : รัฐเอาจริงกับ
ปัญหาความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารในประเทศ
เพราะประเทศนาเข้าจะนาเรื่อง SPS และ TBT มาเป็ นเครื่องมือ
กีดกัน
64
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
–ใช้การประกันความเสี่ยงราคาช่วยเหลือเกษตรกรยากจน
แทนการจานา แต่จากัดปริมาณช่วยเหลือต่อครัวเรือน
–ริเริ่มการประกันดัชนี ดินฟ้ าอากาศ ลดความเสี่ยงด้าน
ผลผลิตให้เกษตรกร
–นโยบายสังคม : มีมาตรการที่ให้ข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยี (technology packages) ที่เพียงพอที่เกษตรกร
สามารถตัดสินใจเลือกปรับตัวเอง โดยคานึ งถึงความเสี่ยง
และไม่ใช้เงินล่อให้เข้าโครงการของรัฐ
–สนับสนุนเกษตรกรยากจนที่ขาดประสิทธิภาพ ให้สามารถ
ปรับตัวออกนอกภาคเกษตร : การศึกษา การฝึ กอบรม
อาชีพ โดยเพิ่มบทบาทของภาคเอกชน
65
66