Transcript Document
ประวัติคอมพิวเตอร์
http://csep1.phy.ornl.gov/ov/node8.html
http://hardzone.hypermart.net/history.html
โดย
นางสาวใบบัว นามสุ ข ตอนเรียน B03
รหัส 461051382 หน้ า 1
ประวัติคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ในยุคเริ่ มแรก ได้แก่ เครื่ องจักรกลหรื อสิ่ งประดิษฐ์ข้ ึนเพื่อในการ
คานวณ โดยยังไม่มีการนาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาใช้ประโยชน์ร่วมด้วย ลาดับเครื่ องมือขึ้นมา
มีดงั นี้
ในระยะ 5,000 ปี ที่ผา่ นมา มนุษย์เริ่ มรู้จกั การใช้นิ้วมือและนิ้วเท้าของตนเพื่อช่วยใน
การคานวณ และพัฒนา มาใช้อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ลูกหิน ใช้เชือกร้อยลูกหินคล้ายลูกคิด
ต่อมาประมาณ 2,600 ปี ก่อนคริ สตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่ องมือเพื่อใช้ในการ
คานวณขึ้นมาชนิดหนึ่ง เรี ยกว่า ลูกคิด ซึ่ งถือได้วา่ เป็ นอุปกรณ์ใช้ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุด
ในโลกและคงยังใช้งานมาจนถึงปัจจุบนั
พ.ศ. 2158 นักคณิ ตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ John Napier ได้ประดิษฐ์
อุปกรณ์ใช้ ช่วยการคานวณขึ้นมา เรี ยกว่า Napier's Bones เป็ นอุปกรณ์ที่ลกั ษณะคล้าย
กับตารางสูตรคูณในปัจจุบนั เครื่ องมือชนิดนี้ช่วยให้ สามารถ ทาการคูณและหาร ได้ง่าย
เหมือนกับทาการบวก หรื อลบโดยตรง
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 2
พ.ศ 2185 นักคณิ ตศาสตร์ชาวฝรั่งเศล Blaise Pascal ได้ออกแบบเครื่ องมือ
ในการคานวณโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟื อง เครื่ องมือของปาสคาลนี้ถูกเผยแพร่ ออกสู่
สาธารณะชน แต่ไม่ประสบความสาเร็ จเท่าที่ควรเนื่องจากราคาแพง ฟันเฟื องติดขัดบ่อยๆ
ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ค่อยถูกต้องตรงความเป็ นจริ ง แต่สามารถใช้ได้ดีในการคานวณการบวกและ
ลบ ส่ วนการคูณและหารยังไม่ดีเท่าที่ควร ดังนั้นในปี พ.ศ. 2216 นักปราชญษชาว
เยอรมัน Gottfriend von Leibnitz ปรับปรุ งเครื่ งคานวณของ ปาสคาลให้
สามารถทหการคูณและหารได้โดยตรง โดยที่การคูณใช้หลักการบวกกันหลายๆ ครั้ง และ
การหาร ก็คือการลบกันหลายๆ ครั้ง แต่ยงั คงอาศัยการหมุนวงล้อของเครื่ องเองอัตโนมัติ
นับว่าเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้การคานวณทางคณิ ตศาสตร์ที่ยงุ่ ยากกลับเป็ นเรื่ องที่ง่ายขึ้น
พ.ศ. 2344 นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศลJoseph Marie Jacquard ได้
พยายามพัฒนาเครื่ องทอผ้าโดยใช้ บัตรเจาะรู ในการบันทึกคาสัง่ ควบคุมเครื่ องทอผ้าให้ทา
ตามแบบที่กาหนดไว้ และแบบดังกล่าวสามารถนามา สร้างซ้ าๆ ได้อีกหลายครั้ง ความ
พยายามของ Jacquard สาเร็จลงใน พ.ศ. 2348 เครื่ องทอผ้านี้ถือว่าเป็ น เครื่ อง
ทางานตามโปรแกรมคาสัง่ เป็ นเครื่ องแรก
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 3
พ.ศ. 2373 Chales Babbage ได้สร้างเครื่ อง หาผลต่าง (Difference
Engine)ใช้คานวณและพิมพ์ตารางทางคณิ ศาสตร์อย่างอัตโนมัติและได้รับความช่วยเหลือ
จากรัฐบาลอังกฤษเพื่อสร้างเครื่ อง Difference Engine และได้พฒั นาความคิดไป
ถึง เครื่ องมือในการคานวนที่มีความสามารถสู งกว่านี้ เรี ยกว่า เครื่ องวิเคราะห์
(Analytical Engine) และได้ยกเลิกโครงการสร้างเครื่ อง Difference
Engine ลงแล้วเริ่ มต้นงานใหม่ คือ งานสร้างเครื่ องวิเคราะห์ ในความคิดของเขา โดยที่
เครื่ องดังกล่าวประกอบไปด้วยชิ้นส่ วนที่สาคัญ 4 ส่ วน คือ
1.ส่ วนเก็บข้อมูล เป็ นส่ วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ
2.ส่ วนประมวลผล เป็ นส่ วนที่ใช้ในการประมวลผลทางคณิ ตศาสตร์
3.ส่ วนควบคุม เป็ นส่ วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่ วนเก็บข้อมูล และส่ วน
ประมวลผล
4.ส่ วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็ นส่ วนที่ใช้รับทราบข้อมูลจากภายนอกเครื่ อง
เข้าสู่ส่วนเก็บ และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณให้ผใู้ ช้ได้รับทราบ
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 4
เป็ นที่น่าสังเกตว่าส่ วนประกอบต่างๆ ของเครื่ อง Alaytical Engine มีลกั ษณะ
ใกล้เคียงกับส่ วนประกอบ ของระบบคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบนั แต่น่าเสี ยดายที่เครื่ อง
Alalytical Engine ของ Babbage นั้นไม่สามารถ สร้างให้สาเร็จขึ้นมาได้
ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี สมัยนั้นไม่สามารถสร้างส่ วนประกอบต่างๆ ดังกล่าว และอีก
ประการหนึ่งก็คือ สมัยนั้นไม่มีความจาเป็ น ต้องใช้เครื่ องที่มีความสามารถสู งขนาดนั้น
ดังนั้นรัฐบาล อังกฤษจึงหยุดให้ความสนับสนุนโครงการของ Babbage ในปี พ.ศ.
2385 ทาให้ไม่มีทุนที่จะทาการวิจยั ต่อไป สื บเนื่องจากมาจากแนวความคิดของ
Analytical Engine เช่นนี้จึงทาให้ Charles Babbage ได้รับการยก
ย่อง ให้เป็ น บิดาของเครื่องคอมพิวเตอร์
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 5
พ.ศ. 2385 Lady Auqusta Ada Byron แปลเรื่ องเกี่ยวกับเครื่ อง Anatical
Engine จากภาษาฝรั่งเศลเป็ นภาษาอังกฤษ ทาให้เข้าใจถึงหลักการทางานและเขียน
รายละเอียดไว้ในหนังสื อทางคณิ ตศาสตร์เล่มหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรม
แรกของโลก จากจุดนี้จึงถือว่า Lady Ada เป็ นโปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก (มีภาษาที่ใช้
เขียนโปรแกรมที่เก่แก่ อยูห่ นึ่งภาษาคือภาษา Ada มาจาก ชื่อของ Lady Ada) ยังพบว่า
ชุดบัตรเจาะรู สามารถนากลับมาทางานซ้ าได้ถา้ ต้องการ นัน่ คือหลักของการทางานวนซ้ า
(Loop)
พ.ศ. 2397 George Boole ใช้หลักพีชคณิ ตเผยแพร่ กฎของ Boolean
Algebra ซึ่งใช้อธิบายเหตุผลของตรรกวิทยาที่ตวั แปรมีค่าได้เพียง "จริ ง" หรื อ "เท็จ"
เท่านั้น (ใช้สภาวะเพียงสองอย่างคือ 0 กับ 1 ร่ วมกับเครื่ องหมายในเชิงตรรกพื้นฐาน คือ
AND, OR และ NOT)
สิ่ งที่ George Boole คิดค้นขึ้น นับว่ามีประโยชน์ต่อระบบคอมพิวเตอร์ใน
ปั จจุบนั อย่างยิง่ เนื่องจากเป็ น การยากที่จะใช้กระแสไฟฟ้ า ซึ่งมีเพี่ยง 2 สภาวะ คือ เปิ ด กับ ปิ ด
ในการแทน เลขฐานสิ บซึ่งมีอยูถ่ ึง 10 ตัว คือ 0 ถึง 9 แต่เป็ นการง่ายกว่าเราแทนด้วย
เลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 จึงถือว่าสิ่ งนี้เป็ นรากฐานที่สาคัญของการ ออกแบบวงจรระบบ
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั
พ.ศ. 2423 Dr. Herman Hollerith นักสถิติชาวอเมริ กนั ได้ประดิษฐ์
เครื่ องประมวลผลทางสถิติซ่ ึง ใช้กบั บัตรเจาะรู เครื่ องนี้ได้รับการพัฒนา ให้ดียงิ่ ขึ้นและ
มาใช้งานสารวจสามะโนประชากร ของสหรัฐอเมริ กา ในป พ.ศ. 2433 และช่วย
ให้การสรุ ปผลสามะโนประชากรเสร็จสิ้ นภายในระยะเวลา 2 ปี ครึ่ ง (โดยก่อนหน้านั้น
ต้องใช้เวลาถึง 7 ปี ครึ่ ง) เรี ยกบัตรเจาะรู น้ ีวา่ บัตรฮอลเลอริ ธ และชื่ออื่นๆ ที่ใช้เรี ยก
บัตรนี้ ก็คือ บัตร ไอบีเอ็ม หรื อบัตร 80 คอลัมน์ เพราะผูผ้ ลิตคือ บริ ษทั IBM
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 7
การกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ อเิ ล็กทรอนิกส์
เครื่ องมือทั้งหลายที่ถูกประดิษฐ์ข้ ึนมาในยุคก่อนนั้นส่ วนมากประกอบด้วยฟันเฟื อง
รอก คาน ซึ่งเป็ นวัสดุ ที่มีขนาดใหญ่ และมีน้ าหนักมากทาให้การทางานล่าช้าและผิดพลาด
อยูเ่ สมอ ดังนั้นในยุคต่อมาจึงพยายาม พัฒนาเครื่ องมือ ให้มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิ ทธิภาพ
สูงขึ้น ดังนี้
พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์ Howard Aiken แห่งมหาลัยวิทยาลัยฮา
วาร์ด ได้พฒั นาเครื่ องคานวณ ตาม แนวคิด ของ Babbage ร่ วมกับวิศวะกรของ
บริ ษทั IBM สร้างเครื่ องคานวณตามความคิดของ Babbage ได้ สาเร็จ โดยเครื่ อง
ดังกล่าวทางานแบบเครื่ องจักรกลปนไฟฟ้ า และใช้บตั รเจาะรู เป็ นสื่ อในการนาเข้าข้อมูลสู่
เครื่ องเพื่อทาการประมวลผล การพัฒนาดังกล่าวมาเสร็ จสิ้ นในปี พ.ศ. 2487 โดย
เครื่ องมือนี้มีชื่อว่า MARK 1 และเนื่องจากเครื่ องนี้สาเร็จได้จากการสนับสนุน ด้าน
การเงินและบุคลากรจากบริ ษทั IBM ดังนั้นจึงมีอีกชื่อ หนึ่งว่า IBM Automatic
Sequence Controlled Calculator และนับเป็ นเครื่ องคานวณแบบ
อัตโนมัติเครื่ องแรกของโลก
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 8
พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็ นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วจิ ยั ของกองทัพบกสหรัฐอเมริ กามีความจา
เป็ นที่จะต้อง คิดค้นเครื่ องช่วยคานวณ เพื่อใช้คานวณหาทิศทางและระยะทางในการส่ ง
ขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่ องคานวณที่มี อยูใ่ นสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชัว่ โมงในการคานวณ
การยิง 1 ครั้ง ดังนั้นกองทัพจึงให้กองทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ Persper Eckert
จากหมาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในการสร้างคอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ข้ ึนมา
โดยนาหลอดสุ ญยากาศ (Vacuum Tube) จานวน 18,000 หลอด มาใช้ในการสร้าง ซึ่งมีขอ้ ดี
คือ ทาให้เครื่ องมีความเร็ว และมีความถูกต้องแม่นยาในการคานวณมากขึ้น ในด้านของ
ความเร็วนั้น เครื่ องจักกลมีความเฉื่ อยของการเคลื่อนที่ของชิ้นส่ วนประกอบ แต่คอมพิวเตอร์
อิเล็กทรอนิกส์ จะใช้อิเล็กตรอนเป็ นตัวคลื่อนที่ ทาให้สามารถส่ งข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
ด้วยความเร็วใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่ วนความถูกต้องแม่นยาในการทางานของ
เครื่ องจักรกลอาศัยฟันเฟื อง รอก คาน ในการทางาน ทาให้ทางานได้ชา้ และเเกิดความผิด
พลดได้ง่าย
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 9
พ.ศ. 2489 เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ Mauchly และ Eckert คิดค้นขึ้นได้มีชื่อว่า
ENIAC ย่อมาจาก (Electronic Numberical Integrater and
Caculator) ประสบความสาเร็จในปี พ.ศ. 2489 ถึงแม้วา่ จะไม่ทนั ใช้ใน
สงครามโลกครั้งที่สอง แต่ความเร็วในการตานวณของ ENIAC ทาให้วงการ
คอมพิวเตอร์ขณะนั้น ยอมรับความสามารถของเครื่ องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ แต่
อย่างไรก็ตาม ENIAC ทางานด้วยไฟฟ้ าทั้งหมดทาให้ในการทางานแต่ละครั้งจึงทาให้
เกิดความร้อนสู งมาก จาเป็ นต้องติดตั้งไว้ในห้องที่มีเครื อ่งปรับอากาศด้วย นอกจากนี้
ENIAC ยังเก็บได้เฉพาะข้อมูลที่เป็ นตัวเลขขนาด 10 หลัก และเก็บได้เพียง 20
จานวน เท่านั้น ส่ วนชุดคาสัง่ นั้น ยังไม่สามารถเก็บไว้ในเครื่ องได้ การส่ งชุดคาสัง่ เข้าเครื่ อง
จะต้องใช้วธิ ีการเดินสายไฟสร้างวงจร ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรม ก็ตอ้ งมีการเดินสายไฟกัน
ใหม่ ซึ่งใช้เวลาเป็ นวัน
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 10
ความคิดต่อมาในการพัฒนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ให้ดีข้ ึนก็คือ การค้นหาวิธีการเก็บ
โปรแกรมไว้ในเครื่ อง เพื่อลดความยุง่ ยาก ของขั้นตอนการป้ อนคาสัง่ เข้าเครื่ อง มีนกั
คณิ ตศาสตร์เชื้อสายฮังการเรี ยนชื่อ Dr.John Von Neumann ได้พบวิธีการ
เก็บโปรแกรมไว้ ในหน่วยความจาของเครื่ องเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลและต่อวงจรไฟฟ้ า
สาหรับการคานวณ และการปฏิบตั ิการพื้นฐาน ไว้ให้เรี ยบร้อยภายในเครื่ อง แล้วเรี ยกวงจร
เหล่านี้ดว้ ยรหัสตัวเลขที่กาหนดไว้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวความคิดนี้
ได้แก่ EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic
Computer) ซึ่งสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนามาใช้งานจริ งในปี พ.ศ.
2494 และในเวลาใกล้เคียงกัน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริ ดส์ ประเทศอังกฤษ ได้มีการสร้าง
คอมพิวเตอร์มีลกั ษณะคล้ายกับเครื่ อง EVAC และให้ชื่อว่า EDSAC
(Electronic Delay Strorage Automatic Caculator)
นางสาวใบบัว นามสุ ข ; ตอนเรี ยน B03
หน้า 11
History of Computer Technology
A complete history of computing would include a multitude of diverse devices
such as the ancient Chinese abacus, the Jacquard loom (1805) and Charles
Babbage's ``analytical engine'' (1834). It would also include discussion of
mechanical, analog and digital computing architectures. As late as the 1960s,
mechanical devices, such as the Marchant calculator, still found widespread
application in science and engineering. During the early days of electronic
computing devices, there was much discussion about the relative merits of analog
vs. digital computers. In fact, as late as the 1960s, analog computers were
routinely used to solve systems of finite difference equations arising in oil
reservoir modeling. In the end, digital computing devices proved to have the
power, economics and scalability necessary to deal with large scale computations.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 12
The evolution of digital computing is often divided into generations. Each
generation is characterized by dramatic improvements over the previous generation in
the technology used to build computers, the internal organization of computer systems,
and programming languages. Although not usually associated with computer
generations, there has been a steady improvement in algorithms, including algorithms
used in computational science. The following history has been organized using these
widely recognized generations as mileposts.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 13
The Mechanical Era (1623-1945)
The idea of using machines to solve mathematical problems can be traced at
least as far as the early 17th century. Mathematicians who designed and implemented
calculators that were capable of addition, subtraction, multiplication, and division
included Wilhelm Schickhard, Blaise Pascal, and Gottfried Leibnitz.
The first multi-purpose, i.e. programmable, computing device was probably
Charles Babbage's Difference Engine, which was begun in 1823 but never completed. A
more ambitious machine was the Analytical Engine. It was designed in 1842, but
unfortunately it also was only partially completed by Babbage. Babbage was truly a man
ahead of his time: many historians think the major reason he was unable to complete these
projects was the fact that the technology of the day was not reliable enough. In spite of
never building a complete working machine, Babbage and his colleagues, most notably
Ada, Countess of Lovelace, recognized several important programming techniques,
including conditional branches, iterative loops and index variables.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 14
First Generation Electronic Computers (1937-1953)
Three machines have been promoted at various times as the first electronic
computers. These machines used electronic switches, in the form of vacuum tubes, instead of
electromechanical relays. In principle the electronic switches would be more reliable, since they
would have no moving parts that would wear out, but the technology was still new at that time
and the tubes were comparable to relays in reliability. Electronic components had one major
benefit, however: they could ``open'' and ``close'' about 1,000 times faster than mechanical
switches.
The earliest attempt to build an electronic computer was by J. V. Atanasoff, a
professor of physics and mathematics at Iowa State, in 1937. Atanasoff set out to build a
machine that would help his graduate students solve systems of partial differential equations. By
1941 he and graduate student Clifford Berry had succeeded in building a machine that could
solve 29 simultaneous equations with 29 unknowns. However, the machine was not
programmable, and was more of an electronic calculator
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 15
The first general purpose programmable electronic computer was the Electronic Numerical
Integrator and Computer (ENIAC), built by J. Presper Eckert and John V. Mauchly at the
University of Pennsylvania. Work began in 1943, funded by the Army Ordnance Department,
which needed a way to compute ballistics during World War II. The machine wasn't completed
until 1945, but then it was used extensively for calculations during the design of the hydrogen
bomb. There is some controversy over who deserves the credit for this idea, but none over how
important the idea was to the future of general purpose computers. ENIAC was controlled by a
set of external switches and dials; to change the program required physically altering the
settings on these controls. Through the use of a memory that was large enough to hold both
instructions and data, and using the program stored in memory to control the order of
arithmetic operations, EDVAC was able to run orders of magnitude faster than ENIAC. By
storing instructions in the same medium as data, designers could concentrate on improving the
internal structure of the machine without worrying about matching it to the speed of an
external control.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 16
Second Generation (1954-1962)
The second generation saw several important developments at all levels of computer
system design, from the technology used to build the basic circuits to the programming
languages used to write scientific applications.
Electronic switches in this era were based on discrete diode and transistor technology
with a switching time of approximately 0.3 microseconds. The first machines to be built with
this technology include TRADIC at Bell Laboratories in 1954 and TX-0 at MIT's Lincoln
Laboratory. Memory technology was based on magnetic cores which could be accessed in
random order, as opposed to mercury delay lines, in which data was stored as an acoustic wave
that passed sequentially through the medium and could be accessed only when the data moved
by the I/O interface. The second generation also saw the first two supercomputers designed
specifically for numeric processing in scientific applications. The term ``supercomputer'' is
generally reserved for a machine that is an order of magnitude more powerful than other
machines of its era. Two machines of the 1950s deserve this title.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 17
Third Generation (1963-1972)
The third generation brought huge gains in computational power. Innovations in
this era include the use of integrated circuits, or ICs (semiconductor devices with several
transistors built into one physical component), semiconductor memories starting to be used
instead of magnetic cores, microprogramming as a technique for efficiently designing
complex processors, the coming of age of pipelining and other forms of parallel processing
(described in detail in Chapter CA), and the introduction of operating systems and timesharing.
Early in the this third generation Cambridge and the University of London
cooperated in the development of CPL (Combined Programming Language, 1963). CPL
was, according to its authors, an attempt to capture only the important features of the
complicated and sophisticated ALGOL. However, like ALGOL, CPL was large with many
features that were hard to learn.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 18
Fourth Generation (1972-1984)
The next generation of computer systems saw the use of large scale
integration (LSI - 1000 devices per chip) and very large scale integration (VLSI - 100,000
devices per chip) in the construction of computing elements. At this scale entire
processors will fit onto a single chip, and for simple systems the entire computer
(processor, main memory, and I/O controllers) can fit on one chip. Gate delays dropped to
about 1ns per gate.
The development of the C programming language and the UNIX operating
system, both at Bell Labs. In 1972, Dennis Ritchie, seeking to meet the design goals of
CPL and generalize Thompson's B, developed the C language. Thompson and Ritchie
then used C to write a version of UNIX for the DEC PDP-11. This C-based UNIX was
soon ported to many different computers, relieving users from having to learn a new
operating system each time they change computer hardware. UNIX or a derivative of
UNIX is now a de facto standard on virtually every computer system.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 19
Fifth Generation (1984-1990)
The development of the next generation of computer systems is characterized
mainly by the acceptance of parallel processing. Until this time parallelism was limited to
pipelining and vector processing, or at most to a few processors sharing jobs. The fifth
generation saw the introduction of machines with hundreds of processors that could all be
working on different parts of a single program. The scale of integration in semiconductors
continued at an incredible pace - by 1990 it was possible to build chips with a million
components - and semiconductor memories became standard on all computers.
Most manufacturers of vector processors introduced parallel models. In the area
of computer networking, both wide area network (WAN) and local area network (LAN)
technology developed at a rapid pace. RISC technology (a style of internal organization of
the CPU) and plummeting costs for RAM brought tremendous gains in computational
power of relatively low cost workstations and servers. This period also saw a marked
increase in both the quality and quantity of scientific visualization.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 20
Sixth Generation (1990 - )
Transitions between generations in computer technology are hard to define,
especially as they are taking place. Some changes, such as the switch from vacuum tubes
to transistors, are immediately apparent as fundamental changes, but others are clear only
in retrospect. Many of the developments in computer systems since 1990 reflect gradual
improvements over established systems, and thus it is hard to claim they represent a
transition to a new ``generation'', but other developments will prove to be significant
changes.
In this section we offer some assessments about recent developments and
current trends that we think will have a significant impact on computational science.
Miss Baibua Namsug ; section B03
Page 21