เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

Download Report

Transcript เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

เทคโนโลยีอนิ เทอร์ เน็ต
Internet Technology
ประวัตแิ ละความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต
• พัฒนามาจาก อาร์ พาเน็ต (ArpAnet เรี ยกสัน้ ๆ ว่า อาร์ พา) ที่ตงขึ
ั ้ ้นในปี 2512
เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ใช้ ในงานวิจยั
ด้ านทหาร
• ปี 2526 อาร์ พาเน็ตก็ได้ แบ่งเป็ น 2 เครื อข่ายด้ านงานวิจยั ใช้ ชื่ออาร์ พาเน็ต
เหมือนเดิม ส่วนเครื อข่ายของกองทัพใช้ ชื่อว่า มิลเน็ต ซึง่ มีการเชื่อมต่อโดยใช้
โพรโตคอล TCP/IP เป็ นครัง้ แรก
• ถึงปี 2533 อาร์ พารองรับภาระที่เป็ นกระดูกสันหลัง (Backbone) ของระบบ
ไม่ได้ จึงได้ ยตุ ิอาร์ พาเน็ต และเปลี่ยนไปใช้ NSFNET และเครื อข่ายขนาดมหึมา
จนถึงทุกวันนี ้ และเรี ยกเครื อข่ายนี ้ว่า อินเทอร์ เน็ต
ประเทศไทยกับอินเทอร์ เน็ต
• อินเทอร์ เน็ตเริ่มมีบทบาทอย่างมากในช่วงปี 2530-2535 โดยเริ่มจากการเป็ น
เครื อข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ ระดับมหาวิทยาลัย (campus network)
• เข้ าสูอ่ ินเทอร์ เน็ตอย่างสมบูรณ์เมื่อเดือนสิงหาคม 2535
• ปี 2538 ก็มี การเปิ ดให้ บริการอินเทอร์ เน็ตในเชิงพาณิชย์ (รายแรก คือ
internet ksc) ซึง่ ขณะนัน้ เวิร์ลด์ไวด์เว็บกาลังได้ รับความนิยมอย่างมากใน
อเมริกา
อินเตอร์ เน็ต บางครัง้ ก็มีการเรี ยกย่อเป็ น เน็ต (Net) หรื อ The Net
ด้ วยเช่นเดียวกัน อีกคาหนึ่งที่หมายถึงอินเตอร์ เน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เวิร์ลด์
ไวด์เว็บ (World – Wide Web) (จริ ง ๆ แล้ ว เว็บเป็ นเพียงบริ การหนึ่งของ
อินเตอร์ เน็ตเท่านัน้ แต่บริการนี ้ ถือว่าเป็ นบริการที่มีผ้ นู ิยมใช้ มากที่สดุ
ความหมายของอินเทอร์ เน็ต
อินเทอร์ เน็ต (Internet) หมายถึง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาด ใหญ่ ที่มี
การเชื่อมต่อระหว่างเครื อข่ายหลายๆ เครื อข่ายทัว่ โลก โดยใช้ ภาษาที่ ใช้ สื่อสารกัน
ระหว่างคอมพิวเตอร์ ที่เรี ยกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้ เครื อข่ายนี ้สามารถ
สื่อสารถึงกันได้ ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ ด และสามารถสืบค้ นข้ อมูล
และข่าวสารต่างๆ รวมทังคั
้ ดลอกแฟ้มข้ อมูลและโปรแกรมมาใช้ ได้
หน้ าที่และความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต
เหตุผลสาคัญที่ทาให้ อินเทอร์ เน็ตได้ รับความนิยมแพร่หลายคือ
1. การสื่อสารบนอินเทอร์ เน็ต ไม่จากัดระบบปฏิบตั ิการของเครื่ องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ที่ตา่ งระบบปฏิบตั ิการกันก็สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
2. อินเทอร์ เน็ตไม่มีข้อจากัดในเรื่ องของระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ภ ายในอาคาร
เดียวกันห่างกันคนละทวีป ข้ อมูลก็สามารถส่งผ่านถึงกันได้
3. อินเตอร์ เน็ตไม่จากัดรูปแบบของข้ อมูล ซึง่ มีได้ ทงข้
ั ้ อมูล ที่เป็ นข้ อความอย่าง
เดี ย ว หรื อ อาจมี ภ าพประกอบ รวมไปถึ ง ข้ อมู ล ชนิ ด มั ล ติ มี เ ดี ย คื อ มี ทั ง้
ภาพเคลื่อนไหวและมีเสียงประกอบด้ วยได้
บริการของอินเตอร์ เน็ต
(Internet Service)
E-mail
@
อีเมลล์ (E-mail) หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า
“จดหมายอิเล็กทรอนิกส์” (Electronic Mail) เป็ นบริ การอย่างหนึ่งเป็ นเครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ต สาหรับรั บส่งจดหมายผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ทาให้ สามารถส่ง
จดหมายไปยังผู้ใช้ ที่อยู่ห่างไกลได้ อย่างรวดเร็ ว สามารถรับส่งข้ อมู ได้ หลากหลาย
ทังรู้ ปแบบที่เป็ นข้ อความ รู ปภาพ หรื อไฟล์ข้อมูลอีกทังยั
้ งช่วยลดค่าใช้ จ่ายในการ
ส่งจดหมายได้ มาก
เว็บไซต์ที่ให้ บริการ e-mail ฟรี ได้ แก่
www.hotmail.com
www.mail.yahoo.com
www.gmail.com
Videoconference
เป็ นบริการแบบ Real-Time ที่ให้ ผ้ ใู ช้ สามารถแลกเปลี่ยนข้ อมูลเสียงและวีดีโอ
ได้ ใช้ สาหรับการกระประชุมผูั ้ ้ เข้ าร่วมประชุมไม่จาเป็ นต้ องอยู่สถานที่เดียวกัน แต่
สามารถพูดคุยกันได้ ช่วยลดเวลาและค่าใช้ จ่ายในการเดินทาง
Instant Messaging
Yahoo! Messenger
Google Talk
Sanook! QQ
Skype
การเชื่อมต่ อ อินเทอร์ เน็ต
ผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ต ( I n t e r n e t S e r v i c e P r o v i d e r : I S P )
ISP (Internet Service Provider)
เป็ นองค์กรหรื อหน่อยงานที่คอยให้ บริการด้ านอินเทอร์ เน็ต
และดูแลการเชื่อมต่อแต่ละเครื อข่าย
National ISP
ISP ระดับประเทศ ซึง่ ให้ บริการเชื่อมต่อกับ ISP ระหว่างประเทศ
และดูแล ISP ภายในประเทศ
Regional ISP
ISP ระดับภูมิภาค ให้ บริการแต่ละภูมิภาค
Local ISP
ISP ระดับท้ องถิ่น ให้ บริการในระดับเมือง หรื อระดับท้ องถิ่น
ตัวอย่างผู้ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต
แบบตามบ้ าน (ใช้ สาย)
ตัวอย่างผู้ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต
แบบตามบ้ าน (ไร้ สาย)
โครงสร้ างเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ( I nte r n e t To p o l o g y )
รายละเอียดแต่ละระดับ
1. Backbone เสมือนแกนกลางในการเชือมต่อเครื อข่ายเข้ าด้ วยกัน เป็ นเส้ นทางหลักน
การเชือมโยงแต่ละเครื่ อข่าย และต้ องมีความเร็วในการับส่งข้ อมูลสูง
2. NSP (Net work Service Provider) จะเป็ นผู้ให้ บริการการเชื่อมต่อระหว่าง ISP กับ
Backbone เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ ต้นทางสามารถเชื่อมต่อไปยังปลายทางได้
3. ISP (Internet Service Provider) เป็ นผู้ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต
4. End User ผู้ใช้ ที่ต้องการใช้ บริการ
เทคโนโลยีการเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต
• Modem 56K
• DSL เป็ นเทคโนโลยีที่พฒ
ั นาเพื่อให้ การขนส่งข้ อมูลผ่านทางสายโทรศัพท์มี
ประสิทธิภาพมากขึ ้น มีความเร็วในการขนส่งข้ อมูลเพิ่มมากขึ ้น และรับรองข้ อมูล
ได้ หลายรูปแบบ ประเภทที่นิยมมากที่สดุ คือ ADSL
Leased Line
สายเช่า หรื อ สายคูเ่ ช่า ใช้ คสู่ ายทังหมดสองคู
้
ส่ าหรับขนส่งข้ อมูลพร้ อมกัน
(Full-Duplex) สายเช่าเป็ นระบบการส่งข้ อมูลในแบบ Cir Cuit Switching คือ
ส่งสัญญาณไปบนเส้ นที่จองไว้ โดยผู้ใช้ มีสทิ ธิ์ใช้ ช่องสัญญาณนันเท่
้ านัน้
สามารถขอใช้ ได้ บริการได้ ที่องค์การโทรศัพท์หรื อผู้ให้ บริการรายอื่น
ISDN
เป็ นเทคโนโลยีที่รวมเอาบริการต่างๆที่ใช้ ในระบบโทรศัพท์ เข้ าไว้ ด้วยกัน โดย
ใช้ การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล ซึง่ กาหนดมาตารฐานขึ ้นโดย ITU-T เพื่ออใช้
ในการบริการด้ านขนส่งข้ อมูลและระบบโทรศัพท์แบบดิจิตอล โดยสามารถ
รองรับข้ อมูลเสียง ภาพและวีดีโอ ผ่านทางสายโทรศัพท์ISDN เป็ นเทคโนโยยี
ที่รวมบริการด้ านดิจิตอลไว้ ด้วยกันเพื่อให้ ขอบเขตความสามารถของ
โทรศัพท์เพิ่มมากขึ ้น
DNS (Domain Name System)
IP address คือ 202.28.75.241
แทนที่ด้วยชื่อ ict.su.ac.th
โดเมนที่ได้ รับความนิยมกันทัว่ โลก ที่ถือว่าเป็ นโดเมนสากล มีดงั นี ้ คือ
.com ย่อมาจาก commercial สาหรับธุรกิจ
.edu ย่อมาจาก education สาหรับการศึกษา
.int ย่อมาจาก International Organization สาหรับองค์กรนานาชาติ
.org ย่อมาจาก Organization สาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหากาไร
.net ย่อมาจาก Network สาหรับหน่วยงานที่มีเครื อข่ายของ
ตนเองและทาธุรกิจด้ านเครื อข่าย
การขอจดทะเบียนโดเมน
การขอจดทะเบียนโดเมน มี 2 วิธี ด้ วยกัน คือ
1. การขอจดะเบียนให้ เป็ นโดเมนสากล (.com .edu .int .org .net )
ต้ องขอจดทะเบียนกับ www.networksolutions.com ซึง่ เดิม คือ www.internic.net
2. การขอทดทะเบียนที่ลงท้ ายด้ วย .th (Thailand)
ต้ องจดทะเบียนกับ www.thnic.net โดเมนเนมที่ลงท้ าย ด้ วย .th ประกอบด้ วย
.ac.th ย่อมาจาก Academic Thailand สาหรับสถานศึกษาในประเทศไทย
.co.th ย่อมาจาก Company Thailand สาหรับบริษัทที่ทาธุรกิจในประเทศไทย
.go.th ย่อมาจาก Government Thailand สาหรับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล
.net.th ย่อมาจาก Network Thailand สาหรับบริษัทที่ทาธุรกิจด้ านเครื อข่าย
.or.th ย่อมาจาก Organization Thailand สาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหากาไร
.in.th ย่อมาจาก Individual Thailand สาหรับของบุคคลทัว่ ๆ ไป
E-Mail (Electronic Mail)
[email protected]
@ อ่านว่า 'ที่' อ่านเป็ นภาษาอังกฤษว่า 'at'
su ชื่อ subdomain หมายถึง มหาวิทยาลัยศิลปากร
ac ชื่อ subdomain ที่มีมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็ นสมาชิก
ได้ แก่ สถาบันการศึกษา
th ชื่อ domain หมายถึงประเทศไทย
หัวจดหมาย (Header Lines)
หัวของจดหมายโดยส่วนใหญ่จะมีแสดงเฉพาะหัวข้ อที่มีประโยชน์ดงั นี ้:
To : ผู้รับ
From : ผู้สง่
Date : วันที่
Subject : หัวเรื่ อง
From : และ Date : โดยปกติถกู ใส่เพิ่มเข้ ามาโดยอัตโนมัติ แต่ผ้ ใู ช้ สามารถ
กาหนดคุณสมบัติอื่นๆ ให้ กบั ระบบจดหมายของตัวเองได้ อีกมากมาย ต่อไปนี ้คือ
ส่วนที่สาคัญที่สดุ ของส่วนหัวของจดหมาย พร้ อมความหมายของแต่ละหัวข้ อ
To :
ผู้รับจดหมาย (ชื่อพร้ อมที่อยู่) สามารถมีได้ มากกว่าหนึ่งราย
Form :
ผู้สง่ จดหมาย (ชื่อพร้ อมที่อยู่)
Cc :
ผู้รับสาเนาจดหมาย เป็ นสาเนาในรู ปแบบอิเล็กทรอนิคส์ บอกให้ ร้ ู ว่าเป็ นสาเนาเพื่อให้ ใช้
เป็ นความรู้เท่านั ้น
Subject :
หัวเรื่ อง ส่วนนีเ้ ป็ นตัวอักษร ที่ควรจะมีขนาดกะทัดรัด มีความหมาย ซึ่ง เป็ นข้ อสรุ ปของ
ข้ อความที่ต้องการส่ง
Date :
วันที่และเวลาที่จดหมายถูกส่ง
Message-Id :
อักขระเฉพาะของจดหมาย ถูกกาหนดให้ โดยเครื่ องของผู้สง่ ใช้ สาหรับอ้ างถึงโดยโปรแกรม
จดหมายโดยส่วนใหญ่
Received :
เป็ นข้ อมูลที่ใช้ สาหรับตรวจสอบความผิดพลาดในการส่ง
Resent-From :
ที่อยู่ของบุคคลหรื อโปรแกรมที่จดหมายถูกส่ง
Reply-To :
ที่อยู่ที่จะเป็ นผู้รับจดหมายตอบกลับ
WWW (World Wide Web)
เวิลด์ไวด์เว็บ นิยมเรี ยกสันๆ
้ ว่าเว็บ หรื อ WWW ถือเป็ นส่วนที่น่าสนใจ
ที่สดุ บนอินเทอร์ เน็ตเพราะสามารถแสดงสารสนเทศต่างๆ ได้ หลากหลาย เช่น
นิตยสารหรื อหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ข้ อมูลด้ านดนตรี กีฬา การศึกษา
ซึง่ สามารถนาเสนอได้ ทงภาพ
ั้
เสียง รวมถึงภาพเคลื่อนไหว เช่น แฟ้มภาพ
วีดิทศั น์หรื อตัวอย่างภาพยนตร์ และการสืบค้ นสารสนเทศในเวิลด์ไ วด์เว็บนัน้
จาเป็ นต้ องอาศัยโปรแกรมค้ นดูเว็บ (web browser)
ปี พ.ศ.2533 นักวิทยาศาสตร์ จากห้ องทดลองของสถาบันเซิร์น (CERN)
ซึง่ เป็ นห้ องปฏิบตั ิการฟิ สิกส์แห่งยุโรป ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์
คือ ทิม เบิร์นเนอร์ ส-ลี (Tim Berners-Lee) ได้ สร้ างระบบการ
สื่อสารข้ อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบใหม่ ที่เรี ยกว่าไฮเพอร์ เท็กซ์
(hypertext)
ทาให้ มีการสร้ างโพรโทคอลแบบ HTTP (Hypertext Transport
Protocol)
ขึน้ เพื่อใช้ ในการส่งสารสนเทศต่างๆ โดยจะถูกจัดอยู่ ใน
รู ปแบบใหม่ที่เรี ยกว่า HTML
(HyperText
Markp
Language)
ในปั จจุบนั ได้ มีการคิดค้ นและสร้ างสรรค์รูปแบบเพื่อสื่อสารระหว่างมนุษย์
ด้ วยกันโดยอาศัยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวเชื่อมโยง ทาให้ เวิลด์ไวด์เว็บ
กลายเป็ นเครื่ อ งมื อที่ ใช้ การติ ด ต่อ สื่อ สารและการนาเสนอผ่ านเครื อ ข่ า ยทิ่
ยิ่งใหญ่ที่สดุ ในโลกไปแล้ วในขณะนี ้
Web browser
Google Chrome
FireFox
Opera
Safari for Pc
Safari for Mac
Crazy Browser
Maxthon Browser
Social Network / Social Media