อาร์เรย์ (Arrays)

Download Report

Transcript อาร์เรย์ (Arrays)

อาร์ เรย์ (ARRAYS)
อาร์เรย์ (ARRAYS)
 อาร์ เรย์ ( Array)
คือ ชุดของข้อมูล ( Data Sets) หรื อชุดของตัวแปรใช้ สาหรับเก็บ
ค่าของข้อมู ลที่ อ ยู่ในกลุ่ม เดี ย วกัน ซึ่ งมี การเรี ย งลาดับ ที่ แน่ นอน โดยลาดับของ
อาร์ เ รย์ โดยปกติ จะเริ่ ม จากศู น ย์ และเป็ นล าดับ ต่ อ เนื่ อ งไปจนถึ ง ตัว สุ ด ท้า ย
อาร์ เ รย์ แ ตกต่ า งจากตั ว แปรทั่ ว ไป คื อ ตั ว แปรโดยทั่ ว ไปจะถู ก จั ด เก็ บ ใน
หน่ ว ยความจ าแบบไม่ ต่ อ เนื่ อ งกัน แต่ ต ัว แปรประเภทอาร์ เ รย์จ ะถู ก เก็ บ ใน
หน่วยความจาในตาแหน่งที่ต่อเนื่องกัน
อาร์เรย์ (ARRAYS)
ข้อมูลแต่ละตัวในอาร์ เรย์ เรี ยกว่า "สมาชิก (Member) หรื ออิลิเมนต์ (Element)" โดย
สมาชิ กเหล่านี้ มักจะมี ความสัมพันธ์ กันในลักษณะใดลักษณะหนึ่ ง สาหรับใน PHP
ข้อ มู ล ที่ เ ก็บ ในอาร์ เ รย์ไ ม่ จ าเป็ นต้อ งเป็ นข้อ มู ล ชนิ ด เดี ย วกัน สมาชิ ก แต่ ล ะตัว จะ
ประกอบด้วยค่าข้อมูล ( Value) และอินเด็กซ์ (Index) เปรี ยบเสมือนเป็ นคีย ์ (Key)
ของอาร์ เรย์ที่ใช้อา้ งอิงถึงตาแหน่งของสมาชิกแต่ละตัวในอาร์ เรย์
ตารางแสดงตัวอย่างข้อมูลแบบอาร์ เรย์ และแสดงตาแหน่งของอินเด็กซ์
หมายเลขอินเด็กซ์
0
1
2
ค่ าของข้ อมูลหรือสมาชิก
สุ ราษฎร์ธานี
กระบี่
ชุมพร
ลาดับทีข่ องสมาชิก
1
2
3
การสร้างอาร์เรย์ (CREATE ARRAYS)
การสร้างอาร์เรย์มีหลักๆ คือ
1) การใช้ ฟังก์ชนั array ( )
2) การใช้ ฟังก์ชนั range ( )
3) การสร้างโดยใช้เครื่ องหมายวงเล็บก้ามปู [ ]
การใช้ฟังก์ชนั ARRAY ( )
รู ปแบบที่ 1 กรณี ไม่กำหนดอินเด็กซ์ให้กบั สมำชิก
$ชื่ออำร์เรย์ = array (
ลำดับที่ 1,
ลำดับที่ 2,
..,
ลำดับที่ N
);
กำรใช้ฟังก์ชนั ARRAY ( )
รู ปแบบที่ 1 กรณี ไม่กำหนดอินเด็กซ์ให้กบั สมำชิก
<?php
$province = array (" สุ รำษฎร์ธำนี " , " กระบี่ " , " ชุมพร" , " นครศรี ธรรมรำช" ,
" พังงำ" , " ภูเก็ต" , " ระนอง" );
print_r ($province); // ใช้แสดงข้อมูลในอำร์เรย์
?>
กำรใช้ฟังก์ชนั ARRAY ( )
ตัวอย่าง
<?php
$province[ ] = "สุ รำษฎร์ธำนี " ;
$province[ ] = "กระบี่ " ;
$province[ ] = "ชุมพร" ;
$province[ ] = "นครศรี ธรรมรำช" ;
print_r ($province);
?>
กำรใช้ฟังก์ชนั ARRAY ( )
รู ปแบบที่ 2 กรณี กำหนดอินเด็กซ์ให้กบั สมำชิก
$ชื่ออำร์เรย์ = array (
Key1=>สมำชิกลำดับที่ 1,
Key2=>สมำชิกลำดับที่ 2,
...
);
รู ปแบบที่ 2 กรณี กาหนดอินเด็กซ์ให้กบั สมาชิก
<?php
$province = array (
"Surat" => "สุ ราษฎร์ ธานี ",
"Krabi" => "กระบี่",
"Chumphon" => "ชุมพร",
"Nakhon" => "นครศรี ธรรมราช“
);
echo $province["Surat"]; // ผลลัพธ์ คือ สุ ราษฎร์ธานี
?>
กำรใช้ฟังก์ชนั ARRAY ( )
<?php
$province = array ( ); // สร้ำงอำร์ เรย์วำ่ ง
$province [0] = "สุ รำษฎร์ธำนี "; // กำหนดสมำชิก
$province [0] = "ยะลำ"; // แก้ไขปรับปรุ งค่ำข้อมูลสมำชิกเดิม
$province [7] = "เชียงใหม่ "; // เพิม่ ข้อมูลสมำชิกใหม่
print_r ($province);
?>
ฟังก์ชนั่ RANGE ( )
ฟั งก์ชนั่ range ( ) เป็ นฟั งก์ชนั่ ที่ใช้ สาหรับสร้างอาร์ เรย์ โดยกาหนดค่า
ข้อมูลเป็ นช่วงของตัวเลขหรื อตัวอักษร เรี ยงลาดับ จากน้อยไปหามากหรื อมากไปหา
น้อย ( เป็ นลักษณะข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกันเป็ นชุด ) มีรูปแบบ ดังนี้
ฟังก์ชนั่ RANGE ( )
รู ปแบบ
array range (mixed $start, mixed $limit [, number $step = 1])
เมื่อ
$start หมายถึง ค่าเริ่ มต้นของลาดับ
$limit หมายถึง ค่าสุ ดท้ายของลาดับ
$step หมายถึง ค่าความต่างของข้อมูล จะกาหนดหรื อไม่ก็ ได้
ถ้าไม่กาหนดค่าจะเพิ่มครั้งละ 1 ค่า
ฟังก์ชนั่ RANGE ( )
ตัวอย่าง
<?php
foreach (range (0, 12) as $number) echo $number . " “;
// ผลลัพธ์ คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
?>
การสร้างโดยใช้เครื่ องหมายวงเล็บก้ามปู [ ]
การสร้างอาร์ เรย์ ด้วยวิธีน้ ี เป็ นการกาหนดค่าให้ กับอาร์ เรย์ โดยตรง โดยสร้างครั้งละ
1 สมาชิ ก นอกจากนี้ ยงั สามารถนาไปใช้ในการเพิ่มสมาชิ กให้กบั อาร์ เรย์ที่มีอยูแ่ ล้วก็
ได้
การสร้างโดยใช้เครื่ องหมายวงเล็บก้ามปู [ ]
รู ปแบบ
array array_name [Key] = value;
เมื่อ
array_name หมายถึง ชื่อตัวแปรอาร์เรย์
Key
หมายถึง อินเด็กซ์ของตัวแปรอาร์เรย์ (จะกาหนดหรื อไม่กไ็ ด้ )
value
หมายถึง ค่าของข้อมูลที่จะกาหนดให้ ตัวแปรอาร์ เรย์
การสร้างโดยใช้เครื่ องหมายวงเล็บก้ามปู [ ]
ตัวอย่าง
<?php
$country [1] = "Thailand";
$country [A] = "Japan";
print_r ($country);
// ผลลัพธ์ คือ Array ( [1] => Thailand [A] => Japan )
?>