๒,๐๐๐ ที่มีรายละเอียดทางราบของอาคารสิ่งปลูกสร้าง สาธารณูปโภคต่างๆ

Download Report

Transcript ๒,๐๐๐ ที่มีรายละเอียดทางราบของอาคารสิ่งปลูกสร้าง สาธารณูปโภคต่างๆ

งานวิศวกรรมโยธา
โครงการออกแบบวางผังแม่ บท
เขตการศึกษาสวนดอก
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศจากการสารวจรังวัด มาตราส่ วน ๑ : ๒,๐๐๐ ทีม่ ีรายละเอียดทางราบของ
อาคารสิ่ งปลูกสร้ าง สาธารณูปโภคต่ างๆ
320.50
312.70
หมุดควบคุมถาวร ในพืน้ ทีโ่ ครงการ ๑๘ หมุด
พืน้ ที่สารวจ เนือ้ ที่รวมประมาณ ๔๐๕-๓-๙๑ ไร่ ค่าระดับพืน้ ที่ทั่วไป ๓๑๓.๐-๓๒๐.๐ ม.รทก.
ถนนในพื้นที่โครงการ ยาวทั้งสิ้ น ๘.๗๘ กิโลเมตร เป็ นถนนประเภทและขนาดต่างๆ ดังนี้
-ถนนคอนกรี ต ขนาดกว้าง ๕ - ๖ เมตร ยาวรวม ๒.๒๐ กิโลเมตร คิดเป็ น ๒๕ %ของความยาวถนน
รวม
-ถนนคอนกรี ต ขนาดกว้าง ๗ - ๘ เมตร ยาวรวม ๐.๖๘ กิโลเมตร คิดเป็ น ๘ % ของความยาวถนนรวม
-ถนนลาดยาง ขนาดกว้าง ๔ - ๕ เมตร ยาวรวม ๔.๖๐ กิโลเมตร คิดเป็ น ๕๒ % ของความยาวถนน
รวม
-ถนนลาดยาง ขนาดกว้าง ๖ - ๘ เมตรยาวรวม ๑.๑๐ กิโลเมตร คิดเป็ น ๑๓ % ของความยาวถนนรวม
-ถนนชัว่ คราว ผิวหินคลุก-ลูกรัง ขนาดกว้าง๔ –๕ ม.ยาวรวม๐.๒๐ ก.ม.หรื อ๒% ของความยาวถนนรวม
เกณฑ์การวิเคราะห์ทางอุทกวิทยา
การประมาณการน้ าท่าในพื้นที่โครงการ ใช้วธิ ี Rational method ซึ่งมีสูตรการคานวณ ดังนี้
Q = ciA
เมื่อ
Q=
c =
i=
A=
อัตราการไหลสู งสุ ดเป็ น ลบ.ม.
สัมประสิ ทธิ์ของน้ าท่า
ความเข้มข้นของฝนเป็ น มม./ชม.
พื้นที่รับน้ าหรื อพื้นที่ระบายน้ าเป็ น ตร.กม.
เกณฑ์การคานวณทางชลศาสตร์
การคานวณการไหลของน้ าในท่อแบบไม่เต็มท่อและการไหลในรางเปิ ด ใช้สูตรของ Manning
เมื่อ
Q
A
R
P
s
n
=
=
=
=
=
=
Q = 1/n A R2/3 s1/2
อัตราการไหล เป็ น ลบ.ม./วินาที
พื้นที่หน้าตัดของการไหล เป็ น ตร.ม.
รัศมีทางชลศาสตร์ของหน้าตัดของการไหล เป็ น ม. (R =A/P)
ความยาวของเส้นรอบเปี ยก เป็ น ม.
ความลาดชันของเส้นลาดพลังงาน เป็ น ม./ม.
สัมประสิ ทธิ์ของการไหล
ดังนี้
-ค่า n สาหรับท่อหรื อรางคอนกรี ต ใช้ ๐.๐๑๕
-ความลาดชันของเส้นลาดพลังงานจะมีค่าเท่ากับ ความลาดชันของท้องคลอง ท่อ หรื อท้องรางเปิ ด
- ความเร็วต่าสุ ด ของการไหลในท่อหรื อในรางเปิ ด กาหนดให้มีค่าไม่ต่ากว่า ๐.๙๐ เมตรต่อวินาที เมื่อน้ าไหลเต็มท่อพอดี เพื่อป้ องกันการ
ตกตะกอนในท่อ
- ระดับน้ าในท่อและรางเปิ ด กาหนดให้ไหลเต็มท่อพอดีที่อตั ราการไหลสู งสุ ดที่คานวณได้จาก Rational method ส่ วนระดับน้ าในรางเปิ ดจะ
กาหนดให้อยูต่ ่ากว่าขอบตลิ่งไม่นอ้ ยกว่า ๑๕% ของความลึกของน้ าที่ออกแบบ ทั้งนี้ได้พิจารณาความลาดเอียงของทางน้ าเดิมที่จะทาการปรับปรุ ง
ประกอบด้วย
- ในกรณี ที่ท่อมีการเปลี่ยนขนาด จะกาหนดให้สันบนของท่อ (Crown) อยูใ่ นระดับเดียวกัน ส่ วนในกรณี ของรางเปิ ดจะกาหนดให้ระดับน้ าใน
รางเปิ ดที่จุดเปลี่ยนขนาดหรื อความลาดชัน อยูใ่ นระดับเดียวกัน
- ขนาดเล็กสุ ดของท่อระบายน้ ากาหนดให้มีขนาดไม่ต่ากว่า ๐.๔๐ เมตร และ ความกว้างน้อยที่สุดของรางระบายน้ าแบบเปิ ด กาหนดไว้ให้ไม่
ต่ากว่า ๐.๓๐ เมตร
- การคานวณการไหลของน้ าผ่านท่อลอด สะพาน หรื ออาคารทางชลศาสตร์อื่นๆ เช่น Drops , Chute , Transition และอื่นๆ ใช้เกณฑ์การ
คานวณออกแบบตามเอกสารอ้างอิง ดังต่อไปนี้
USBR Design Standard No.3 , USBR , Denver , Colorado , 1960
USBR Design of Small Dam , USBR , Washington DC , 1974
USBR Design of Small Canal Structure , USBR , Denver , colorado , 1974 และ
Handbook of Hydraulics , by King , H.W. , New York , 1954
ข้อกาหนดอื่นๆ
- การกาหนดระดับต่าสุ ดของท้องรางระบายน้ า ที่บริ เวณจุดระบายน้ าออกสู่ อ่างหรื อหนองน้ าจะต้องสอดคล้องกับระดับท้องท่อลอดและสะพาน
และสอดคล้องกับระบบระบายน้ าทางด้านท้ายน้ า
- ระดับท้องท่อหรื อรางระบายน้ าจะต้องอยูต่ ่ากว่าดินเดิม และระดับดินถมหลังท่อต้องไม่นอ้ ยกว่า ๐.๖๐ เมตร
การเลือกชนิดโครงสร้ างการระบายนา้ พิจารณาจากประสิ ทธิภาพการใช้ งานทีด่ ี , อายุการใช้
งานทีย่ าวนานและราคาที่ต่าทีส่ ุ ดหรืออีกนัยหนึ่งคือการลงทุนที่คุ้มค่ าทีส่ ุ ด
ความสั มพันธ์ ระหว่ างช่ วงเวลาการไหลของนา้ บนผิวดิน
- ความลาดชันเฉลีย่ – ลักษณะพืน้ ผิว - ระยะการไหล
ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเข้ มข้ น – ช่ วงเวลานาน –
ความถี่ของฝน อ.เมืองเชียงใหม่