กลุ่มการบริหารจัดการศัตรูพืช ภาคตะวันออก ปี 2554

Download Report

Transcript กลุ่มการบริหารจัดการศัตรูพืช ภาคตะวันออก ปี 2554

การบริหารจัดการศัตรูพชื
ภาคตะวันออก ปี 2554
รายชื่อกลุ่มอภิปราย
นายทิวา แซมเพชร
น.ส.รุจิรัตน์ จาปาเฟื่ อง
น.ส.ปนัดดา ทิพยะรัตน์
นายสุ เทพ ทองมี
นายสุ เมศร์ แก่นจันทร์
นายบุญรัตน์ สุ ขมาก
นายจุมพล ไทยสุ ชาติ
นายประยูร เริงเลือ่ ม
นายนรินทร์ สุ ภาภรณ์
น.ส.ทานอง อินทะเสน
ศบพ.ชบ.
สนง.กษจ.ฉช.
สนง.กษจ.สป.
สนง.กษจ.นย.
สนง.กษจ.ชบ.
กองวิจัยฯ กรม ฯ
กรม ฯ
ศบพ.ชบ.
ศบพ.ชบ.
ศบพ.ชบ.
นายกฤษฏา ฉิมอินทร์
นายโอภาส กว้ างมาก
นายประสาน สุ ขสุ ทธิ์
นายอรุ ณ เหมือนตา
น.ส.มรกต สุ ดประเสริฐ
นายธนัท จันทร์ เกตุ
น.ส.นคร คมกล้ า
นายชนินทร์ สุ ขสาราญ
น.ส.ภัทรลภา สุ วรรณราช
ศบพ.ชบ.
สนง.กษจ.รย.
สนง.กษจ.สก.
สนง.กษจ.ปจ.
สนง.กษจ.ตร.
สนง.กษจ.จบ.
สสข. 3 ระยอง
สสข.3 ระยอง
สสข.3 ระยอง
1.ทบทวนคณะทางานการบริหารจัดการ
ศัตรูพชื ภาคตะวันออก ปี 2554
. ดาเนินการในปี ที่แล้ ว เป็ นปี แรก
. เป็ นภาคเดียวที่มคี ณะทางาน ลงนามคาสั่ ง
โดย ผอ.สสข. 3
. ปี 2554 มีการดาเนินการต่ อเนื่อง
. การสั มมนา RW ถือเป็ นการประชุมคณะทางาน
ครั้งที่ 1/2554
2. การอบรมและหลักสูตรการอบรม
การจัดการศัตรูพชื (เขตดาเนินการ)
การดาเนินการ
- อบรมเจ้ าหน้ าที่ รวม 30 คน
(เจ้ าหน้ าที่ ศบพ.ชบ.จานวน 3 คน
/ ทีมจังหวัด ๆ ละ 3 คน
- กาหนดการอบรม 14 – 16 กุมภาพันธ์ 54
ทีมจังหวัด ๆ ละ 3 คน
ประกอบด้ วย
1. ผู้เป็ นคณะทางานการบริหารจัดการศัตรู พชื 1 คน
2. ผู้เคยผ่ านการอบรม TOT หรือมีความรู้ เรื่องศัตรู พชื 2 คน
เนือ้ หาหลักสู ตร (เน้ นการฝึ กปฏิบัติจริง)
- การจาแนกศัตรู พชื /ศัตรู ธรรมชาติทสี่ าคัญในพืน้ ที่
- การดาเนินงานศูนย์ จดั การศัตรู พชื ชุมชน
- การควบคุมศัตรู พชื โดยวิธีผสมผสาน
- การควบคุมศัตรู พชื โดยชีววิธี และการผลิตขยายศัตรู ธรรมชาติ
- การติดตามสถานการณ์ การระบาด
สถานที่จัดอบรม
1. ศูนย์ บริหารฯชลบุรี(ฝึ กปฏิบัต)ิ
2. โรงแรม ในพัทยา
3.ชี้แจงโครงการบริหารจัดการศัตรู พชื และ
เขตกรรมเพือ่ ลดความเสี่ ยงให้ กบั เกษตรกร
ปี 2554
3.1 ก่ อนการเกิดภัย (การเฝ้ าระวังศัตรูพชื และเตือนภัย)
3.2. ระหว่ างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพชื )
3.3 หลังการเกิดภัย (การให้ ความช่ วยเหลือ)
3.1 ก่ อนการเกิดภัย (การเฝ้ าระวังศัตรูพชื และเตือนภัย)
3.1.1 สร้ างความเข้ มแข็งในการจัดการศัตรูพชื
- อบรมหลักสู ตรการจัดการศัตรูพชื 30 คน
(เขตดาเนินการ)
- อบรมหลักสู ตรการจัดการศัตรูพชื ศัตรู
ธรรมชาติ (ส่ วนกลางดาเนินการ)
3.1.2 จัดตั้งศูนย์ จดั การศัตรู พชื ชุมชน(ใหม่ )ใน
9 จังหวัด
- อบรมเกษตรกร 30 คน 6 ครั้ง
- จัดซื้อวัสดุในการเรียนรู้ การสารวจสถานการณ์
ศัตรู พชื และการผลิตขยายศัตรู ธรรมชาติ
3.1.3 ผลิตหัวเชื้อจุลนิ ทรีย์ และพ่อ แม่ พนั ธุ์
ศัตรูธรรมชาติ
3.1.4 ผลิตต้ นพันธุ์มันสาปะหลัง (ศจช.)
3.2 ระหว่ างเกิดภัย (การจัดการศัตรู พชื )
3.2.1 ผลิตขยายเชื้อจุลนิ ทรีย์และศัตรูธรรมชาติ
3.2.2 ติดตามสถานการณ์ การระบาดศัตรูพชื
3.3 หลังการเกิดภัย (การให้ ความช่ วยเหลือ)
3.3.1 พัฒนาศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชน (ศจช. เดิม)
3.3.1.1 พัฒนาศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชน ที่
ดาเนินการในข้ าว พืชไร่ ไม้ ผล และพืชผัก
. อบรมสมาชิกศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชน
(ศูนย์ เดิม)
. ผลิตขยายเชื้อจุลนิ ทรีย์ ในศูนย์ จัดการ
ศัตรู พชื ชุมชน (ศูนย์ เดิม)
. ศึกษาดูงานศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชนทีป่ ระสบ
ความสาเร็จ ของศูนย์ ระดับปรับปรุง (C)
3.3.1.2 พัฒนาศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชนโครงการ
การจัดการเพลีย้ แป้งมันสาปะหลัง ปี 2553
. อบรมสมาชิกศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชน
โครงการจัดการ เพลีย้ แป้งมันสาปะหลัง
. ผลิตขยายเชื้อจุลนิ ทรีย์ และศัตรู ธรรมชาติ
ในศูนย์ จัดการศัตรู พชื ชุมชน โครงการจัดการเพลีย้ แป้ง
มันสาปะหลัง
3.3.2 ติดตามให้ คาแนะนา และประเมินผล
4.อภิปราย “จะทาอย่ างไรให้ ศจช.มีการดาเนินการ
ที่มีประสิ ทธิภาพ”
. ประเด็นสมาชิก ศจช. 30 คน
- ปัญหาการระบาดศัตรู พืชเดียวกัน
- พืชที่ปลูกเป็ นพืชเดียวกัน
- พื้นที่ชุมชนเดียวกัน (ใกล้เคียงกัน)
. ประเด็นการฝึ กอบรมเกษตรกรสมาชิก ศจช.
- ศจช.ต้องร่ วมกันกาหนดข้อตกลงในการเข้าร่ วมเรี ยนรู ้ ให้ครบตามแผน
- ศจช. ต้องร่ วมกันจัดทาแผนการถ่ายทอดความรู ้ ตามปฏิทินการปลูกพืชของ
ศจช. นั้น ๆ
- ศจช.ต้องร่ วมกันกาหนดประเด็นการถ่ายทอดแต่ละครั้ง
- ดาเนินการอบรม(ถ่ายทอดความรู ้) ไม่นอ้ ยกว่า 6 ครั้ง
- ดาเนินการถ่ายทอดความรู ้ในพืน้ ที่แปลงพยากรณ์
. ประเด็นการจัดทาแปลงติดตามสถานการณ์
การระบาดศัตรูพชื
- พื้นที่ดาเนินการ 1 ไร่
- เจ้าหน้าที่ตอ้ งเป็ นพี่เลี้ยงในการสารวจ,ถ่ายทอดความรู ้ ให้เกษตรกร
- ระยะเวลาการสารวจติดตามสถานการณ์และการรายงานทุกสัปดาห์และ
ทุกครั้งที่มีการเรี ยนรู ้ตามแผนการถ่ายทอดความรู ้
- เป็ นจุดเรี ยนรู ้ตามแผนการถ่ายทอดความรู ้
. ประเด็นวัสดุ อุปกรณ์ ประจา ศจช.
- เป็ นไปตามชนิดพืช เช่น ศจช.ข้าว มีชุดผลิตขยายเชื้อราบิวเวอเรี ย, ศจช.มัน
สาปะหลัง มีกรงชุดผลิตขยายศัตรู ธรรมชาติ แตนเบียน แมลงช้างปี กใส
. ประเด็นสถานที่ต้งั ศจช.
- ศจช.อยูใ่ กล้แปลงติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรู พืช เพื่อการเรี ยนรู ้
- มีบริ เวณสามารถประชุมสมาชิกได้ 30 คน
- สามารถเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ์ ประจาศจช.ได้
. ประเด็นการพัฒนาความรู้ของเจ้ าหน้ าที่
- ทาหนังสื อแจ้ง ศบพ.ชบ. ไปถ่ายทอดความรู ้ในเวที DW
- จังหวัดจัดทาโครงการพัฒนาเจ้าหน้าที่เป็ นการเฉพาะ (เชิญ ศบพ.ชบ. เป็ น
วิทยากร-มีการสนับสนุนค่าน้ ามันเดินทางให้วิทยากร)
. ประเด็นแนวทางการจัดทาแปลงมันสาปะหลังพันธุ์ดี
จานวนศูนย์ ละ 45 ไร่
- ควรกระจายให้สมาชิกศจช. 30 คน ๆ ละ 1.5 ไร่
- ข้อดีเป็ นการขยายพื้นที่แปลงติดตามสถานการณ์ กระจายในสมาชิกศจช.
- ข้อดีสามารถขยายพื้นที่ปลูกมันสาปะหลังพันธุ์ดีทวั่ ถึง
- เป็ นกาลังใจแก่เกษตรกรสมาชิกศจช.
- ต้องมีการคืนต้นพันธุ์ จานวน 3 เท่า ของที่รับไป
. ประเด็นตัวชี้วดั ทีแ่ สดงผลสั มฤทธิ์การดาเนินงาน ศจช.
(เพลีย้ แป้ ง) ทีต่ ้ องการ
- ศจช.สามารถเตือนการระบาดศัตรู พืชได้
- เกษตรกรสมาชิก ต้องสามารถจาแนกชนิ ดของเพลี้ยแป้ งได้ดว้ ยตัวเอง
- เกษตรกรสมาชิก สามารถเล่าเรื่ องราว/แผน-ผล/วิธีการดาเนินงานของ
ศจช.ของตนเองได้ -แสดงว่ามีความเป็ นเจ้าของศจช.
. แนะนาการผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ แตนเบียนเพลีย้
แป้ งมันสาปะหลัง ศจช. มีข้นั ตอน คือ
1. ศจช.-จังหวัด แจ้งการระบาดของเพลี้ยแป้ งสี ชมพู กาหนดพื้นที่เป้ าหมาย
ปล่อยแตนเบียนมันสาปะหลังไปยัง ศบพ.ชลบุรี (เป็ นแปลงที่มีการระบาดของเพลี้ย
แป้ งสี ชมพู-แปลงนี้เรี ยกว่า แปลงปล่ อย)
2. ศบพ.ชลบุรี ปล่อยแตนเบียน ในแปลงปล่อย (ควรเป็ นพื้นที่ใหญ่ 45 ไร่ ข้ ึน
ไป จะปล่อย 500-1,000 คู)่ และแปลงนี้ถือเป็ นแปลงขยายศัตรู ธรรมชาติดว้ ย
3. ประมาณ 25 วัน เกษตรกรเจ้าของแปลงปล่อย ต้องเก็บสุ มยอดมัน
สาปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ งนาไปใส่ ในกรงสุ มยอด เรี ยกวิธีน้ ีวา่ เก็บสุ มยอด เป็ นการ
ขยายแตนเบียนมันสาปะหลัง
4. ประมาณ 5 วัน สังเกตในกรงสุ มยอด ถ้ามีแตนเบียน ทาการเบียนตัวเพลี้ยแป้ ง
อยู่ ก็จะฟักออกมาเป็ นตัวเต็มวัยในกรงสุ มยอด
5.ใช้อุปกรณ์ดูดเก็บแตนเบียน นาไปปล่อยในแปลงใหม่ (ห่างจากแปลงเดิม
ประมาณไม่ต่ากว่า 1-2 ก.ม. - จะควบคุมพื้นที่ได้ประมาณ 7,000 ไร่ ) เป็ นการ ขยายแมลง
ศัตรูธรรมชาติ ของ ศจช.
5.ระบบรายงานการระบาดศัตรู พชื
1. รายงานระบบโปรแกรม PPSD
- กาหนดรายงานทุกวันที่ 15 ของทุกเดือน
- มีปัญหาโปรแกรม ให้แจ้งกรม ฯ
- ขอให้กรมฯ พัฒนาระบบรายงานเป็ น ระบบ 0nline
2. รายงานแปลงพยากรณ์ (0nline) เข้าไปที่หน้าเว็บไซด์ ของ สพส.
- กาหนดรายงานสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ที่มีการสารวจแปลง
- ขอให้กรมฯ ส่ งรหัสให้จงั หวัด เพื่อเข้าไปรายงานได้
3. แบบรายงานการระบาดศัตรู พชื (การขอความช่วยเหลือ)
- รายงานตามแบบฟอร์ม เมื่อเกิดการระบาดและต้องการขอความช่วยเหลือ
ให้รายงานไปกรมฯ –สาเนาให้เขต,ศบพ.ชบ.
4. รายงานเฉพาะกิจ
- เพลี้ยแป้ งแบบ 1,2,3 / ยังใช้อยู่ /กาหนดรายงานทุกวันพุธ ทุกสัปดาห์/ทาง
Email ให้กรมฯ -สาเนาให้เขต,ศบพ.ชลบุรี
- เพลี้ยกระโดดสี น้ าตาล / รายงานตามแบบฟอร์ม / กาหนดรายงานทุกวันพุธ
ทุกสัปดาห์ ให้กรมฯ -สาเนาให้เขต,ศบพ.ชลบุรี
- แมลงดาหนาม / ไม่มีแบบฟอร์มเฉพาะ/ให้รายงานตามแบบทัว่ ไป / รายงาน
เมื่อพบการระบาด
- หนอนหัวดา / รายงานตามแบบฟอร์ม /กาหนดรายงานทุกสัปดาห์ที่ 1
และ 3 ของเดือน
องคความรู
้
์
หนอนหัวดามะพร้ าว
Coconut black-headed caterpillar
Opisina arenosella
ความสาคัญ
หนอนหัวดามะพร้ าวเป็ นแมลงศั ตรู พืชใหม่ ที่พบระบาดทาลาย
มะพร้ าวใน 3 หมู่บ้าน ที่ อาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ แมลง
ชนิดนี้ไม่ เคยพบรายงานการระบาดในประเทศไทยมาก่ อน จากการ
สื บค้ นข้ อมูลพบว่ า หนอนหัวดามะพร้ าวเป็ นแมลงศัตรู ที่สาคัญของ
มะพร้ าวในประเทศอินเดีย และศรีลังกา และยังพบรายงานถึงหนอน
ชนิดนีใ้ น อินโดนีเซีย เมียรมาร์ บังคลาเทศ และปากีสถาน หนอนหัว
ดามะพร้ าว มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Opisina arenosella มีชื่อสามัญ
ภาษาอังกฤษว่ า Coconut black-headed caterpillar ตัวเต็มวัยของ
หนอนหัวดามะพร้ าวเป็ นผีเสื้อกลางคืน
ตัวเต็มวัย อายุ ๒๑ วัน
ไข่ อายุ ๗ วัน
วงจรชีวติ
ดักแด้ อายุ ๑๐ วัน
หนอน อายุ ๓๐-๔๐ วัน
ตัวเต็มวัย
ผีเสื้ อเพศเมีย มีข นาดใหญ่ กว่ าเพศผู้เล็กน้ อย ขนาด ลาตัววัดจากหั วถึง
ปลายท้ องยาว ประมาณ ๑ -๑.๒ เซนติเมตร ปี ก สี เทาอ่ อน มีจุดสี เทาเข้ มที่
ปลายปี ก ลาตัวแบน ชอบเกาะนิ่งแนบตัวติดผิวพืน้ ที่เกาะ เวลากลางวันจะเกาะ
นิ่งหลบอยู่ใต้ ใบมะพร้ าว หรือในที่ร่มผีเสื้อหนอนหัวดามะพร้ าวเพศเมียวางไข่
ตัวละประมาณ ๒๐๐ ฟอง ตัวเต็มวัยอายุ ๒๑ วัน
ไข่
ไข่ มีลักษณะกลมรี แบน วางไข่ เป็ นกลุ่ม ไข่ เมื่อวางใหม่ ๆ มีสี
เหลืองอ่อน สี จะเข้ มขึน้ เมื่อใกล้ฟัก ไข่ อายุ ๗ วัน
หนอน
ตัวหนอนเมื่อฟักออก จากไข่ ใหม่ จะอยู่รวมกันเป็ นกลุ่ม ก่อนที่จะย้ ายเข้ าไป
กัดกินใบมะพร้ าว ตัวหนอนที่ฟักใหม่ จะมีหัวสี ดา ลาตัวสี เหลื อง สี ของส่ วนหัว
จะเปลีย่ นเป็ นสี น้าตาลเข้ มเมื่ออายุมากขึน้ ลาตัวของตัวหนอนมีสี น้าตาลอ่ อนมี
ลายสี น้าตาลเข้ มพาดยาวตามลาตัว เมื่อโตเต็มที่จะยาว ประมาณ 2 – 2.5
เซนติเมตร
ดักแด้
ดักแด้ มีสีนา้ ตาลเข้ ม ดักแด้ เพศผู้จะมีขนาด เล็กกว่ าดักแด้ เพศเมีย
เล็กน้ อย
ลักษณะการทาลาย
การท าลายเกิ ด ในระยะตั ว หนอน
เท่ านั้น ตัวหนอนเมื่อฟักออกจากไข่ ใหม่ จะอยู่
รวมกันเป็ นกลุ่ม 1-2 วัน ก่ อนจะย้ ายไปกัดกิน
ใบ มะพร้ าว มักจะพบหนอนหลายขนาดกัด
กินอยู่ในใบมะพร้ าวใบเดียวกันโดยตัวหนอน
จะถักใยดึงใบมะพร้ าวมาเรี ยงติดกันเป็ นแพ
และ สร้ างอุโมงค์ เป็ นทางยาวอาศัยกัดกินใบอยู่
ภายในอุโมงค์ ชอบทาลายใบแก่ เมื่อตัวหนอน
โตเต็มที่แล้ ว จะถักใยหุ้มลาตัวอีกครั้ง และเข้ า
ดักแด้ อยู่ภายในอุโมงค์
พืชอาศัย
นอกจากหนอนหัวดาจะระบาดทาลายมะพร้ าวแล้ ว ยังมี พืช
อาหารอีกหลายชนิด อาทิ ต้ นตาล หมาก กล้ วย และปาล์ มประดับ
ได้ แ ก่ ตาลฟ้ า อิ น ทผลั ม ปาล์ ม หมากนวล หมากเขี ย ว หมาก
แดง และจั๋ง เป็ นต้ น ดังนั้น เกษตรกรจึงควรติดตามเฝ้ าระวังอย่ าง
ใกล้ ชิด โดยเฉพาะชาวสวนกล้ วยทั้งกล้ วยหอมทอง และกล้ วยไข่
การป้ องกันกาจัด
วิธีการควบคุมหนอนหัวดามะพร้ าว โดยวิธีผสมผสานตามวงจรชีวิต มี ๔ ระยะ ดังนี้
ระยะตัวเต็มวัย ๒๑วัน
ใช้ กบั ดักแสงไฟล่อ
ระยะดักแด้ 10 วัน
ตัดทางใบ
ระยะไข่ 7 วัน
วงจรชีวติ หนอนหัวดา
ระยะหนอน 30-40 วัน
ใช้ Bt
ตัดทางใบ
ใช้ แตนเบียนไข่ ทริคโคแกรมม่ า
ตัดทางใบ
ระยะที่ ๑ การกาจัดตัวเต็มวัย (ผีเสื้ อหนอนหัวดา)
เป็ นระยะที่ผเี สื้ อหนอนหัวดามะพร้าวออกจากดักแด้จะเคลื่อนย้ายออกจากทางใบ
มะพร้าวที่ถกู ทาลายเสี ยหายแล้วไปยังทางใบมะพร้าวที่ยงั ไม่พบความเสี ยหายเพื่อวางไข่
วิธีการควบคุมผีเสื้ อหนอนหัวดามะพร้าวในระยะนี้โดยรณรงค์ใช้กบั ดักแสงไฟ
ล่อผีเสื้ อมาทาลายซึ่ งมีวธิ ี ปฏิบตั ิดงั นี้
๑. ใช้แสงไฟสี น้ าเงิน (blue light) ใช้แสงไฟสี น้ าเงินและอุปกรณ์ล่อ
บริ เวณรอบ ๆ สวนมะพร้าวช่วงเวลาที่เหมาะสมตั้งแต่ ๒๐.๐๐ น. เป็ นต้นไป
๒. ผีเสื้ อหนอนหัวดาบินเข้าหาแสงไฟที่ใช้ล่อและจะเกาะนิ่ งอยูบ่ ริ เวณ
ใกล้ ๆ แสงไฟที่ใช้ล่อ เช่น บริ เวณชุดอุปกรณ์ ต้นมะพร้าวและสนามหญ้า เป็ นต้น ให้จบั
ผีเสื้ อใส่ ภาชนะนาไปทาลาย
ระยะที่ ๒ การกาจัดไข่ หนอนหัวดามะพร้ าว
เป็ นระยะที่ผีเสื้ อหนอนหัวดาจะวางไข่ที่ทางใบมะพร้าว สาหรับผีเสื้ อหนอน
หัวดาสามารถวางไข่ได้เฉลี่ยประมาณ ๒๐๐ ฟองต่อตัว และใช้เวลาในการฟั กประมาณ
๗ วัน ดังนั้น วิธีการควบคุมไข่หนอนหัวดา มีวธิ ี การดังนี้
การใช้แตนเบี ยนไข่ตริ กโคแกรมมาเข้าไปเบี ยนและวางไข่ในไข่ของผีเสื้ อ
หนอนหัวดาซึ่ งเป็ นอีกวิธีหนึ่ งที่สามารถลดปริ มาณไข่ของหนอนหัวดาได้ก่อนที่จะฟั ก
ออกเป็ นตัว หนอนในรุ่ น ต่ อ ไป (อัต ราการปล่ อ ยแตนเบี ย นไข่ ต ริ ก โคแกรมมาใช้
๒๐,๐๐๐ ตัว / ไร่ )
ระยะที่ ๓ การกาจัดหนอนหัวดามะพราว
มี ๒ วิธด
ี งั นี้
้
วิธีที่ ๑ ระยะหนอนยังไม่สร้างอุโมงค์คลุมตัว หลังจากหนอนหัวดาฟักออจากไข่
ใหม่ ๆจะรวมกันเป็ นกลุ่มประมาณ ๑ - ๒ วันจึงจะเคลื่อนย้ายไปกัดกินใบมะพร้าว
ดังนั้น วิธีการควบคุมที่เหมาะสม ได้แก่
การใช้เชื้อแบคทีเรี ย (BT) ฉี ดพ่นใบมะพร้าว เมื่อหนอนกัดกินผิวใบ
มะพร้าวก็จะกินเชื้อแบคทีเรี ยเข้าไปด้วย ทาให้หนอนเคลื่อนไหวช้า กินอาหารน้อยลง
ผิวสี ครี ม ต่อมาจะ สี คล้ า ดาเละและตายภายใน ๒ - ๓ วัน
วิธีที่ ๒ ระยะหนอนสร้างอุโมงค์คลุมตัว หนอนหัวดาที่หลงเหลือจาก
การใช้เชื้อแบคทีเรี ยควบคุมจะถักใยดึงใบมะพร้าวมาเรี ยงติดกันเป็ นแพและสร้าง
อุโมงค์ทางยาวอาศัยกัดกินภายในอุโมงค์จนเข้าดักแด้ภายในอุโมงค์ สาหรับใบ
มะพร้าวที่ถกู ทาลาย จะแห้งกรอบ ใบเป็ นสี น้ าตาล ดังนั้น วิธีการควบคุมหนอน
หัวดาที่เหมาะสม โดยการตัดทางใบมะพร้าวที่ถกู หนอนทาลายนาไปเผา เป็ นการ
กาจัดทั้งระยะหนอน ดักแด้ อีกทั้งยังทาลายแหล่งอาหารและแหล่งอาศัยของหนอน
หัวดาอีกด้วย
ระยะที่ ๔
การกาจัดดักแดหนอนหั
วด า
้
ส่ วนใหญ่จะพบดักแด้หนอนหัวดาอยูภ่ ายในอุโมงค์ที่หนอนหัวดา
ถักใยในทางมะพร้าวคลุมตัว ดังนั้น วิธีการควบคุมที่เหมาะสม ได้แก่ ตัดทาง
ใบมะพร้าวที่ถกู ทาลายนาไปเผา เป็ นการกาจัดดักแด้ของหนอนหัวดาที่อยูใ่ น
อุโมงค์ทางใบมะพร้าว ซึ่ งเป็ นการลดประชากรก่อนที่ดกั แด้จะเป็ นผีเสื้ อไป
ขยายพันธุ์เพิ่มประชากรในธรรมชาติต่อไป
ลักษณะการทาลาย
ของหนอนหัวดามะพราวและแมลงด
าหนามมะพราว
้
้
หนอนหัวดามะพราว
้
แมลงดาหนามมะพราว
้