MI-counseling

Download Report

Transcript MI-counseling

Motivational Interviewing
การพูดคุยให้การปรึกษาเพื่อสร้างแรงจูงใจ
ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
พ.อ.น.พ.พิชัย แสงชาญชัย จิตแพทย์
กองจิตเวชและประสาทวิทยา
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
เรียบเรียงโดย คณะวิทยากรฝึกปฏิบัติ
หลักการพูดคุยให้การปรึกษา
(Motivational Interviewing for change)

พูดคุยแบบ “ให้การปรึกษา(Counseling)”

ให้ความสาคัญที่ผู้รับการปรึกษา(Client-centered)

ทราบขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stage of Change, Prochaska
& DiClemente) และมีท่าทีที่เหมาะสม

ทฤษฎีการรับรู้ตนเอง(Self Perception Theory)

ทักษะ & กลยุทธ์ ( Skills :OARS & Strategies)

การจัดการแรงต้าน (Handling Resistance)
ขั้นตอนการให้การปรึกษา
ขั้นตอนที่
ขั้นตอนที่
ขั้นตอนที่
ขั้นตอนที่
1
2
3
4
การสร้างสัมพันธภาพ
การทาความเข้าใจและหาสาเหตุของปัญหา
การหาวิธีแก้ไขปัญหา
การสรุปสิ่งที่พูดคุย
*** มีทิศทาง ไปสู่เป้าหมายชัดเจน (Goal-directed)
ทักษะการพูดคุยแบบ
ผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง(Client centered)
ตัวอย่าง
 การฟังอย่างตั้งใจ(Active listening)
 การสื่อสารทางบวก ทั้งภาษาพูดและภาษากาย(Positive Verbal &
nonverbal communication )
กรณีศึกษา

เด็กชายบอย วัย15 ปี มาด้วยคดีลักทรัพย์ตามห้างสรรพสินค้า มี
ท่าทางหงุดหงิด ก้าวร้าว ไม่เป็นมิตร มีประวัติการใช้ยาบ้าเป็นครั้ง
คราว มองว่าการใช้ยาบ้าเป็นเรื่องทั่วไปที่ทุกคนในกลุ่มใช้ ใช้แล้วรู้สึก
มั่นใจ ล่าสุดใช้ยาบ้าก่อนกระทาเหตุ หลังจากนั้นถูกตารวจจับมา
ดาเนินคดี
ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Stage of Change (Prochaska & DiClemente)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation)
ขั้นลังเลใจ (Contemplation)
ขั้นตัดสินใจหรือเตรียมการ (Determination or preparation)
ขั้นลงมือแก้ไข (Action)
ขั้นกระทาต่อเนื่อง (Maintenance)
ขั้นกลับไปติดซ้า (Relapse)
ท่าทีที่เหมาะสมต่อขั้นต่างๆของแรงจูงใจ
Pre-contemplation
Information, feedback
Contemplation
Pros & Cons
Determination
Menu, freedom of choice
responsibility, self-efficacy
Action
Compliance
Maintenance
Relapse prevention
Relapse
Hope, support,
self-efficacy
ทฤษฎีการรับรู้ตนเอง (Self Perception theory)
 “As I hear myself talk, I learn what I believe”
“หากฉันได้ยินสิ่งที่ฉันคุยกับตนเอง ฉันก็ได้เรียนรู้ในสิ่งที่ฉันเชื่อ”
 กระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดข้อความจูงใจตนเอง (Self-Motivational
Statement, SMS)
ทักษะการให้การปรึกษาแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
(OARS)

การถามคาถามปลายเปิด (Open-ended questioning)

การชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation)
การฟังอย่างเข้าใจและสะท้อนความ (Reflective listening)
Simple reflection (การสะท้อนความแบบธรรมดา)
Repeating - ทวนความ
Rephrasing – ทวนวลี
Paraphrasing – ถ่ายทอดความ
 การสรุปความ (Summarization)

กลยุทธ์
ในการให้การปรึกษาแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
 ถามรายละเอียด (Elaboration)
ถามเพื่อให้ได้รายละเอียดมากๆ
 ถามเพื่อกระตุ้นเร้า (Evocative Questions)
ถามตรงๆเพื่อได้ข้อมูลที่เป็นปัญหา
 จินตนาการ (Imagining)
สมมติสิ่งที่เลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้น
สมมติสิ่งที่ดีที่สุดที่อาจเกิดขึ้น
 มองไปข้างหน้า (Looking Forward)
มองไปในอนาคต ชีวิตจะเป็นอย่างไร
 มองย้อนกลับไป (Looking Back)
ชีวิตก่อนหน้านี้ คุณเป็นอย่างไร
 ค้นหาเป้าหมายและคุณค่าชีวิต (Exploring Goals or Values)
อะไรคือสิ่งที่สาคัญมากที่สุดในชีวิต
อะไรคือเป้าหมายของชีวิตคุณ
 ไม้บรรทัดของความพร้อม (Readiness ruler)
: ให้ผู้ป่วยลองให้คะแนน 0-10 สาหรับความสาคัญ ความมั่นใจ
และความพร้อมของการเปลี่ยนแปลง
: ถามผู้ป่วยว่า เพราะอะไรถึงไม่ให้คะแนน 0 หรือ ตัวเลขที่ต่ากว่า
จานวนที่เลือก
 ขัดเพื่อให้แย้ง Paradoxical Challenge
พูดคุยเข้าข้างจิตใจที่ไม่อยากเปลี่ยนแปลง เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วย
โต้แย้ง เช่น
“ดูแล้วคุณยังติดใจสุรายาเสพติดอยู่มาก คงจะเลิกยาก”
“พี่คิดว่า การเล่นเกมส์น่าจะมีประโยชน์กับหนูมากกว่าการเรียน”
การจัดการกับแรงต้าน
Handling Resistance
ข้อความที่แสดงถึงแรงต้าน
Resistance Talk

ข้อความของแรงต้าน(Non-SMS or Resistance Talk)
หมายถึง ข้อความที่ตรงข้ามกับ “ข้อความที่ดีงาม” (SMS) เช่น
ข้อความที่พูดถึง ข้อดีของการเสพยา
ข้อความที่พูดถึง ข้อเสียของการเลิก
ข้อความที่แสดงถึงการไม่คิดตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลง
ข้อความที่แสดงถึงการมองการเปลี่ยนแปลงว่าน่าจะเป็นไปในทางลบ
ผู้ให้การปรึกษาควรระลึกว่าแรงต้านเป็นเรื่องปกติ
แท้จริงผู้รับการปรึกษากาลังรู้สึกสองจิตสองใจ
 แรงต้านที่เกิดขึ้น เตือนใจให้ผู้ให้การปรึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เสียใหม่

ทักษะการจัดการกับแรงต้าน
Handling Resistance
ตัวอย่าง
 Reflective listening
Simple reflection
Complex reflection เช่น
Amplified reflection – ซ้าเติมให้หนักขึ้น
Metaphor – อุปมาอุปไมย
 Shifting focus – การเปลี่ยนจุดเน้น เปลี่ยนเรื่องคุย
 Responsibility – ความรับผิดชอบ หรือการตัดสินใจอยู่ที่คุณ
 Reframing – yes…but – การมองเชิงบวก ใช่....แต่... ในขณะเดียวกัน..
 Paradoxical challenge - การขัดเพื่อให้แย้ง
ปิดการสนทนา
•
สรุปการพูดคุยในวันนี้ ปัญหาที่นามาพูดคุย
•
พูดถึงแนวทางการเปลี่ยนแปลง(Change plan)
เป้าหมายในชีวิตของคุณ คือ .......
สิ่งที่ต้องทาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย คือ .......
อุปสรรคที่ทาให้ไม่บรรลุเป้าหมาย คือ ............
•
ให้กาลังใจในการนา “สิ่งที่ต้องทา”ไปปฏิบัติ
และนัดพบครั้งต่อไปในรายที่จาเป็น