พันธะเคมี 1

Download Report

Transcript พันธะเคมี 1

พันธะเคมี 1
http://www.youtube.com/watch?v=yjge1WdCFPs&feature=related
http://www.youtube.com/watch?v=QqjcCvzWwww
การเกิดพันธะ
• การให้ อิเล็กตรอนแก่ธาตุอื่น
• การรับอิเล็กตรอนจากธาตุอื่น
• การใช้ อิเล็กตรอนร่วมกัน
พันธะเคมีเกิดจาก
แรงดึงดูดระหว่ างอิเล็กตรอนกับโปรตอนในนิวเคลียส
แรงยึดเหนี่ยว
• ภายในโมเลกุล ได้ แก่ พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโควาเลนต์
• ระหว่างโมเลกุล ได้ แก่ พันธะไฮโดรเจน แรงดึงดูดระหว่างขัว้
แรงลอนดอน
ระหว่างโมเลกุล
ภายในโมเลกุล
พันธะโลหะ
• ได้ แก่ โลหะทุกชนิด เช่น ทองแดง ทองคา เงิน เป็ นต้ น
• เกิดจากโลหะจ่ายอิเล็กตรอน ทาให้ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่บนแท่งโลหะ
ประจุลบของอิเล็กตรอนเข้ าใกล้ ประจุบวกตัวใดก็จะเกิดแรงดึงดูดขึ ้น
สมบัติของพันธะโลหะ
• จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมาก เพราะเป็ นแรงดึงดูดระหว่างประจุทางไฟฟ้า
• นาไฟฟ้าได้ ดีมากทุกทิศทาง เมื่ออุณหภูมิสงู ขึ ้นจะนาได้ น้อยลง และไม่นา
ไฟฟ้าเมื่ออยูใ่ นสภาวะแก็ส
• ตีเป็ นแผ่นบางๆได้ เพราะมีกลุม่ เวเลนซ์อิเล็กตรอนทาหน้ าที่ยึดอนุภาคไว้
• สะท้ อนแสงได้ เพราะอิเล็กตรอนอิสระจะดูดและคายแสงออกมา
• เรี ยกหน่วยที่เล็กที่สดุ ว่า “อะตอม”
พันธะไอออนิก
• เกิดระหว่างโลหะกับอโลหะ ยกเว้ น Be กับ B
• โลหะจ่ายอิเล็กตรอนเป็ นประจุบวก และอโลหะรับอิเล็กตรอนเป็ น
ประจุลบเกิดแรงดึงดูดกัน เป็ น พันธะไอออนิก
IE (Ionization Energy)
• คือ พลังงานอย่างน้ อยที่ดงึ อิเล็กตรอนให้ หลุดจากอะตอม
ในสภาวะแก็ส
EA (Electron Affinity)
• คือ พลังงานที่คายออกมา เพื่อรับอิเล็กตรอนให้ เข้ าไปอยู่
ภายในอะตอมในสภาวะแก็ส
สมบัติของสารประกอบไอออนิก
• จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมากแต่ต่ากว่าพันธะโลหะ
• จะนาไฟฟ้าได้ เมื่อหลอมเหลวหรื อละลายน ้า
• หน่วยที่เล็กที่สดุ เรี ยกว่า “ไอออน”
การอ่ านชื่อสารประกอบไอออนิก
สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออน
ได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็ นไอออนบวก
แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็ นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสี ยง
พยางค์ทา้ ยเป็ น ไอด์ (ide)
สารประกอบธาตุสามหรื อมากกว่า ถ้าสารประกอบเกิดจากไอออน
บวกของโลหะ หรื อกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้
อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรื อชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วย
กลุ่มไอออนลบ
การละลายน้า
สารประกอบไอออนิกที่ละลายนา้ ได้
• สารประกอบของโลหะหมู่ 1 ทุกตัว
• สารประกอบของแอมโมเนียมไอออนทุกตัว
• สารประกอบของไนเตรททุกตัว
• สารประกอบของคลอเรตทุกตัว
• สารประกอบของเปอร์ คลอเรตไอออน ยกเว้ น KClO4
• สารประกอบของแอซีเตตทุกตัว ยกเว้ น CH3COOAg
สารประกอบไอออนิกที่ไม่ ละลายนา้
• เป็ นสารประกอบที่เกิดจากโลหะหมู่ 2 กับ CO32- SO32- PO43-
• เป็ นสารประกอบที่เกิดจากอโลหะหมู่ 7 กับ Ag+ Hg 2+ Pb2+
• เป็ นสารประกอบที่เกิดจากโลหะทุกชนิดกับ S2- OH- O2-
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
(Born-Harbor cycle)
1. พลังงานการระเหิด = Heat of Sublimation ; S
2. พลังงานการสลายพันธะ = Dissociation Energy ; D or bond enthalpy
3. พลังงานไอออไนเซชั่น = Ionization Energy ; IE
4. พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน = Electron Affinity ; EA
5. พลังงานโครงผลึกหรื อพลังงานแลตทิซ = Lattice Energy
พลังงานในการเกิดพันธะไอออนิก
(บอนฮาเบอร์ )
พลังงานการละลาย
การละลายน ้าของสารประกอบไอออนิก จะเกิดขึ ้นตามขันตอนดั
้
งนี ้
1. มีการดูดพลังงานเข้ าไปเพื่อสลายโครงร่างผลึก
พลังงานนี ้เรี ยกว่า พลังงานโครงร่างผลึก (พลังงานแลตทิซ)
2. เกิดการสร้ างพันธะกับน ้า โดยจะคายพลังงานออกมา
พลังงานนี ้เรี ยกว่า พลังงานไฮเดรชัน่
การเขียนสมการไอออนิก
• เขียนเฉพาะส่วนที่เป็ นไอออนหรื อโมเลกุลของสารทาปฎิกิริยากันเท่านัน้
• ถ้ าสารที่เกี่ยวข้ องในปฎิกิริยาเป็ นสารที่ไม่ละลายในน ้าหรือไม่แตกตัวเป็ น
ไอออนหรื อเป็ นออกไซด์หรื อเป็ นก๊ าซให้ เขียนสูตรของสารนันในสมการได้
้
• ดุลสมการไอออนิกโดยทาจานวนอะตอมและไอออนของทุกธาตุ พร้ อมทังดุ
้ ล
ประจุทงซ้
ั ้ ายและขวาของสมการให้ เท่ากัน
พันธะโควาเลนต์
• เกิดจากธาตุเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ ร่วมกัน
• เป็ นสารที่เกิดจาก อโลหะกับอโลหะ รวมทัง้ Be กับ B
-
เช่น Cl2
หรื อ
Cl Cl
พันธะเดี่ยว
O2
หรื อ
O=O
พันธะคู่
N2
หรื อ
N
พันธะสาม
N
• ความยาวพันธะ
พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
• พลังงานพันธะ
พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว
(สาหรับอะตอมของธาตุคเู่ ดียวกัน)
สมบัติของโมเลกุลโควาเลนต์
•จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า
•จะนาไฟฟ้าได้ ถ้ามีขวั ้
•หน่วยที่เล็กที่สดุ เรี ยกว่า “โมเลกุล”
การอ่ านชื่อโมเลกุลโควาเลนต์
• ต้ องอ่านเลขอะตอมของธาตุแต่ละธาตุด้วยภาษากรี ก ดังนี ้
• 1 = mono
• 2 = di
• 3 = tri
• 4 = tetra
• 5 = penta
• 6 = hexa
• 7 = hepta
• 8 = octa
• 9 = nona
• 10 = deca
CO2
“Carbondioxide”
การเขียนสู ตรแสดงพันธะของโมเลกุลโคเวอเลนต์
• สารที่มีจานวนแขนมากที่สดุ สารนันต้
้ องเป็ นอะตอมกลาง
• โดยแบ่งเป็ น สูตรแบบเส้ น และ สูตรแบบจุด