ภาพนิ่ง 1 - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หัวข้ อและโครงร่ างการค้ นคว้ าแบบอิสระ
หลักสู ตรวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการความรู้
วิทยาลัยศิลปะ สื่ อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. ชื่อและสกุล (Name and Surname) นางสาว อนัญญา นิวรัตน์
รหัสนักศึกษา (Student Code)
542132040
2.ชื่อเรื่องการค้นคว้าแบบอิสระ(Title)
2.1 ภาษาไทย (Thai) : ผลการใช้สอ่ื แผนผังความคิดและกิจกรรมช่วยสร้าง
เทคนิ คการสอนนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ท่ี 4 โรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋ อาเภอพร้าว
จังหวัดเชียงใหม่
2.2ภาษาอังกฤษ (English) : The media plan ideas and teaching
techniques to help students at four-year school district, Mae Pang Chang Mai.
Problem tree
ผลของปัญหา
-ซ้ ำชั้น
ปัญหา
• ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรี ยนวิชำประวัติศำสตร์ช้ นั ป.4 คะแนนสอบ
วิชำประวัติศำสตร์ของนักเรี ยน ชั้น ป.4 ต่ำ
( สมุดรำยงำนผลกำรเรี ยน 1:2554:4 )
สาเหตุของปัญหา
- นร.ไม่เข้ าใจเนื ้อหาวิชาประวัติศาสตร์ เนื่องจากครูใช้ สอื่
การสอนแบบCAT ซึง่ วิชานี ้มีเนื ้อหาเยอะต้ องใช้ ความจา
และมีการดูเป็ นเวลานาน
1.สือ่ ทาให้ นกั เรี ยนไม่มีสว่ น
ร่วมและไม่มีประติ-สัมพันธ์
กับครูผ้ สู อน
- นร.เป็ นชนเผ่าขาดการดูแลอย่างใกล้ ชิด ( อยูม่ ลู นิธิ
อุน่ ใจซึง่ มีนกั เรี ยนพักอยูร่ ่วมกันเป็ นจานวนมาก ) ทา
ให้ ขาดการเอาใจใส่จึงทาให้ นร.ขาดทักษะการอ่านการ
และสือ่ ความหมายภาษาไทยต่าทาให้ ทาข้ อสอบ
ไม่ถกู ต้ องคะแนนสอบ วิชาภาษาไทย ของนักเรี ยน
ชัน้ ป.4 ต่า ( สมุดรายงานผลการเรี ยน 1:2554:4 )
3.สือ่ ยากต่อการตอบ
2. สื่ อกำรสอน
ไม่น่ำสนใจ
เพรำะใช่บ่อย
เกินไป
- นร.ไม่ได้ เรี ยนวิชา
ประวัติศาสตร์ มาตังแต่
้ ต้น
เทอมซึง่ ได้ มีการสอนเนื ้อหา
ไปมากแล้ ว ดังนันนร.ที
้
ไ่ ด้
ย้ ายมาระหว่างเทอม และ
เป็ นชนเผ่าส่วนมากนี ้เรี ยนรู้
ไม่ทนั นักเรี ยนอื่น (แบบ
บค.20)
คาถามและอธิบาย
ของนักเรี ยนทาให้ เกิด
การเบื่อการเรี ยนและ
ทาให้ ทาข้ อสอบวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ ( สมุดรายงานผลการเรี ยน 1:2554:4 )
3.หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมุติฐาน (Principles Theory, Rationale,and/or Hypotheses)
โรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋ ตัง้ อยูห่ มู่ท่ี 14 ตาบลแม่ปงั ๋ อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ภูมิประเทศมีลกั ษณะ
เป็ นเนิ นสูง อยูห่ า่ งจากจังหวัดเชียงใหม่ 77 กิโลเมตร ห่างจากอาเภอพร้าว 17 กิโลเมตร ห่างจากสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 97 กิโลเมตรภูมิประเทศตัง้ อยูก่ ลางหุบเขา อยูห่ า่ งจากจังหวัดเชียงใหม่ 95 กิโลเมตร
ห่างจากอาเภอพร้าว 35 กิโลเมตร ห่างจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 115 กิโลเมตร
เปิ ดสอนในระดับอนุ บาล – มัธยมศึกษาปี ที่ 3 เป็ นโรงเรียนรัฐบาลสอนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ปัจจุบนั มีครูจานวน 24 คน ครูอตั ราจ้าง 2 คน พี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 คน นักเรียนจานวน 395 คน
แบ่งเป็ นนักเรียนชัน้ อนุ บาล 58 คนและเนื่ องจากโรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋ เป็ นโรงเรียนขยายโอกาสจึงทาให้มีนักเรียนย้าย
เข้าย้ายออกระหว่างเทอมมาก (แบบ บค.20) และก็มีนักเรียนบางส่วนเป็ นไทยใหญ่และชนเผ่าซึ่งที่ยา้ ยมาส่วนมากก็จะมาพักอยูท่ ่ี
“มูลนิ ธิอนุ่ ใจ”ซึ่งมีผูด้ ูแลและเสียค่าใช้จา่ ยไม่มาก ดังนั้นจึงมีผูป้ กครองที่เป็ นชนเผ่าและไทยใหญ่นาลูกมาฝากจานวนมาก
ทาให้ผูด้ ูแลดูแลไม่ทวั ่ ถึงเวลามีการบ้านนักเรียนก็ไม่มีท่ีปรึกษาและคาแนะนา ทาให้ไม่ได้ทาการบ้านและยังขาดความเข้าใจ
ซึ่งนักเรียนที่ผูว้ ิจยั สอนอยูน่ ้ ี มีปญั หาในเรื่องการเรียนวิชาประวัติศาสตร์น้ ี มาก ซึ่งครูผูส้ อนก็พยายามหาสื่อการสอนที่แปลกใหม่มา
ใช้กบั นักเรียนเช่นในปัจจุบนั เป็ นโลกแห่งเทคโนโลยีครูผูส้ อนจึงนาสื่อการสอนที่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ ตหรอ CAI ซึ่งเป็ นสื่อ
มัลติมีเดียการ์ตูนมัลติมีเดียมาเป็ นสื่อการสอนซึ่งมีทง้ั ข้อดีและข้อจากัดขอสื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต CAIหรือสื่อมัลติมีเดียเพื่อ
การศึกษามาใช้มีดงั นี้ คือ
ความหมายของสือ่ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต CAIหรือสือ่ มัลติมีเดียได้มีนักการศึกษาได้ให้นิยามความหมายของสือ่
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต(Web Based Instruction) เอาไว้หลายนิ ยามดังนี้ (อ้างถึงใน สรรรัชต์ ห่อไพศาล,2544)
คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของสือ่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web Based Instruction) ไว้วา่ เป็ นการเรียนการสอน
ที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ ต มาสร้างให้เกิดการ
เรียนรูอ้ ย่างมีความหมาย
โดยส่งเสริมและสนับสนุ นการเรียนรูอ้ ย่างมากมาย โดยส่งเสริมและสนับสนุ นการเรียนรูใ้ นทุกทาง
คลาร์ก (Clark, 1996) ได้ให้คาจัดความของสือ่ การเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็ นการเรียนการสอนรายบุคคล
ที่นาเสนอโดยการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์สาธารณะหรือส่วนบุคคล
และแสดงผลในสรูปของการใช้ผ่านเว็บบราวเซอร์
และสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ตดิ ตัง้ ไว้ได้โดยผ่านทางเครือข่าย
รีแลน และกิลลานี (Relan and Gillani, 1997) ได้ให้ความหมายของสื่อการเรียนการสอนผ่านเว็บเช่นกันว่า
เป็ นการกระทาของคณะหนึ่ งในการเตรียมการคิดในกลวิธีการสอนโดยกลุม่ คอมสตรักติวซิ ึมและการเรียนรูใ้ นสถานการณ์รว่ มมือกัน
โดยใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรในเวิลไวด์เว็บ
พาร์สนั (Parson,1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็ นการสอนที่นาเอาสิง่ ที่ตอ้ งการส่งให้บางส่วน
หรือทัง้ หมดโดยอาศัยเว็บ โดยเว็บสามารถกระทาได้หลากหลายรูปแบบและหลากหลายขอบเขตที่เชื่อมโยงกัน ทัง้ การเชื่อมต่อบทเรียน
วัสดุช่วยการเรียนรู ้ และการศึกษาทางไกล
ข้อดี [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.learners.in.th/blogs/posts/4535
(11 กุมภาพันธ์ 2554)
1. เทคโนโลยีดา้ นสือ่ มัลติมีเดียช่วยให้การออกแบบบทเรียน ตอบสนองต่อแนวคิด
และทฤษฎีการเรียนรูม้ ากยิ่งขึ้น รวมทัง้ ส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การ
วิจยั ที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของสือ่ มัลติมีเดียว่า สามารถช่วยเสริมการ
เรียนรู ้ ทาให้ผูเ้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นได้
2. สือ่ มัลติมีเดียในรูปแบบของซีดีรอม ใช้งา่ ย เก็บรักษาง่าย พกพาได้สะดวก และ
สามารถทาสาเนาได้งา่ ย
3. สือ่ มัลติมีเดียเป็ นสือ่ การสอนที่เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนสามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเองตาม
ศักยภาพ ความต้องการ และความสะดวกของตนเอง ซึ่งนักเรียนปัจจุบนั สามารถ
เข้าถึงได้งา่ ยและรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์
4. ในปัจจุบนั มีโปรแกรมช่วยสร้างบทเรียน (Authoring Tools) ที่งา่ ยต่อการใช้งานทาให้บคุ คลที่สนใจทัว่ ไปสามารถสร้างบทเรียนสื่อมัลติมีเดีย
ใช้เองได้
5. ผูส้ อนสามารถใช้สอ่ื มัลติมีเดียเพื่อสอนเนื้ อหาใหม่ เพื่อการฝึ กฝน เพื่อเสนอสถานการณ์จาลอง และเพื่อสอนการคิดแก้ปญั หา
ทัง้ นี้ ขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของการนาไปใช้เป็ นประการสาคัญ รูปแบบต่างๆ ดังกล่าวนี้ จะส่งผลดีตอ่ การเรียนรูว้ ธิ ีการเรียนรูแ้ ละรูปแบบการ
คิดหาคาตอบ
6. สื่อมัลติมีเดียช่วยสนับสนุ นให้มีสถานที่เรียนไม่จากัดอยูเ่ พียงห้องเรียน เท่านั้น ผูเ้ รียนอาจเรียนรูท้ ่บี า้ น ที่หอ้ งสมุดหรือภายใต้สภาพ
แวดล้อมอืน่ ๆตามเวลาที่ตนเองต้องการ
7. เทคโนโลยีสอ่ื มัลติมีเดีย สนับสนุ นให้เราสามารถใช้สอ่ื มัลติมีเดียกับผูเ้ รียนได้ ทุกระดับอายุ และความรู ้ หลักสาคัญอยูท่ ่กี ารออกแบบให้
เหมาะสมกับผูเ้ รียนเท่านั้น
8. สื่อมัลติมีเดียที่มีคณ
ุ ภาพ นอกจากจะช่วยให้เกิดความคุม้ ค่าในการลงทุนของโรงเรียน หรือหน่ วยงานแล้ว ความก้าวหน้าของระบบครือข่าย
ยังช่วยส่งเสริมให้การใช้ส่อื มัลติมีเดียเป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาอืน่ ๆ อีกด้วย ส่วน
ข้อจากัดhttp://learning.pitlokcenter.com/captivate/train-media_forlearning.htm[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาCopyright ©
2007, PitlokCenter.com. All rights reserved ( 20 ธันวาคม 2554 )
1.ถึงแม้ว่าขณะนี้ ราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ และค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์จะ ลดลงมากแล้วก็ตาม แต่การที่จะนา
คอมพิวเตอร์มาใช้ในวงการศึกษาในบางสถานที่น้นั จาเป็ นต้อง มีการพิจารณากันอย่างรอบคอบเพื่อให้คมุ ้ กับค่าใช้จา่ ยตลอดจนการดูแล
รักษาด้วย
2.การออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่มีคณ
ุ ภาพเหมาะสมตามหลักทางจิตวิทยาและการเรียนรูน้ ับว่ายังมีนอ้ ย เมื่อเทียบกับการ
ออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในวงการด้านอืน่ ๆ ทาให้ส่อื มัลติมีเดียเพื่อการศึกษามีจานวนและขอบเขตจากัดที่จะนามาใช้ในการเรียน
วิชาต่าง ๆ
3.ในขณะนีย้ งั ขาดอุปกรณ์ทไี่ ด้ คุณภาพมาตรฐานระดับเดียวกัน เพือ่ ให้ สามารถใช้ ได้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างระบบกัน
4.การทีจ่ ะให้ ผู้สอนเป็ นผู้ออกแบบสื่ อมัลติมเี ดียเพือ่ การศึกษานั้นเป็ นงานทีต่ ้ องอาศัยเวลา สติปัญญาและความสามารถเป็ นอย่างยิง่ ทาให้ เป็ น
การเพิม่ ภาระของผู้สอนให้ มมี ากยิง่ ขึน้
5. คอมพิวเตอร์ เป็ นสื่ อทีม่ คี วามยุ่งยากในการใช้ งาน และความซับซ้ อนของระบบการทางานมาก เมือ่ เทียบกับสื่ ออืน่ ๆ
6.มีตัวแปรทีเ่ ป็ นปัญหานอกเหนือจากการควบคุมมาก เช่ น ไฟฟ้าขัดข้ อง ระบบ Server เป็ นต้ น
7. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสื่อมัลติมีเดียมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก ทาให้ผผ
้ ู ลิตสื่อมัลติมีเดีย
ต้องหาความรู้ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงเสมอ
8.ในการผลิตสื่อมัลติมีเดียนัน
้ ต้องการทีมงานที่มีความชานาญในแต่ละด้านเป็ นอย่างมากอีก
ทัง้ ต้องมีการประสานงานกันในการทางานสูง
กำรเปลี่ยนแปลงรวมทั้งบทบำทของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทสี่ ่ งผลต่ อการจัดรู ปแบบการเรียนการสอนนีเ้ อง ทีท่ าให้ การเรียนการสอน
ทางไกลการฝึ กอบรมทางไกล รวมทั้งการเรียนการสอนในลักษณะของการอภิปรายโต้ ตอบทั้งกลุ่มใหญ่ และกลุ่มย่ อย ซึ่งทาได้ ยากและต้ อง
เสี ยค่ าใช้ จ่ายมากจะเป็ นเรื่องทีไ่ ม่ แปลกใหม่ ในอนาคตและไม่ มกี ารโต้ ตอบกับผู้เรียนโดยตรงทาให้ ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่ วม
จากการทีน
่ ก
ั เรียนไมมี
มี
ั ครูผสอน
ู้
ร่วมทัง้ ทาสื่อคือทาได้ยากและต้องเสีย
่ ส่วนรวมและไม
่
่ ประติสนธิกบ
ค่าใช้จ่ายมากจะเป็ น เรื่องที่ไม่แปลกใหม่ในอนาคตและไม่มีการโต้ตอบกับผูเ้ รียนโดยตรงทาให้
ผูเ้ รียนขาดการมีส่วนร่วมทัง้ จึงเวลาสั่ งการบานรวมทั
ง้ การจัดทารายงานไมสามารถท
าไดและนั
กเรียนจะ
้
่
้
มีพฤติกรรมการเรียนทีไ่ มดี
ื จะตัง้ ใจดูและเรียนในตอนตนชั
่ โมง จะคุยและเลนกั
่ ู
่ คอ
้ ว
่ นเสี ยงดังในเวลาทีด
ไมมี
ยนและเมือ
่ ครูไดสอบถามหรื
อใช้คาถามกระตุนให
่ วกับเรือ
่ ง
่ ความกระตือรือรนในการเรี
้
้
้
้นักเรียนคิดเกีย
ทีน
่ ก
ั เรียนดูก็มก
ั จะตอบคาถามไดไม
บเนือ
้ หาทีเ่ รียน ส่งผลให้นักเรียนรอยละ
60 มีผลการเรียนรู้
้ ตรงกั
่
้
วิชาประวัตศ
ิ าสตรอยู
บตา่
่
์ ในระดั
(เกณฑ์ การแปลความหมายคะแนน)
ร้อยละ 80-100 หมำยถึง ระดับดีมำก
ร้อยละ
70-79
หมำยถึง ระดับดี
ร้อยละ
60-69
หมำยถึง พอใช้
ร้อยละ
50-59
หมำยถึง ระดับน้อย
ต่ำกว่ำร้อยละ 50 หมำยถึง ควรปรับปรุ ง
สำเหตุของกำรได้คะแนนต่ำของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษำชั้นป.4 มี 3 สำเหตุคือ
1. นักเรี ยนไม่เข้ำใจเนื้อหำวิชำประวัติศำสตร์ เนื่องจำกครู ใช้สื่อกำรสอนแบบ CAT ซึ่ งวิชำนี้มีเนื้อหำเยอะต้อง
ใช้ควำมจำ และมีกำรดูเป็ นเวลำนำน
2. นักเรี ยนเป็ นชนเผ่ำขำดกำรดูแลอย่ำงใกล้ชิด( อยูม่ ูลนิธิอุ่นใจซึ่ งมีนกั เรี ยนพักอยูร่ ่ วมกันเป็ นจำนวนมำก )
ทำให้ขำดกำรเอำใจใส่ จึงทำให้นกั เรี ยน.ขำดทักษะกำรอ่ำนกำรและสื่ อควำมหมำยภำษำไทยต่ำทำให้ทำ
ข้อสอบไม่ถูกต้องคะแนนสอบวิชำภำษำไทยของนักเรี ยนชั้นป.4 ต่ำ( สมุดรำยงำนผลกำรเรี ยน 1:2554:4 )
3. นักเรี ยนไม่ได้เรี ยนวิชำประวัติศำสตร์ มำตั้งแต่ตน้ เทอมซึ่ งได้มีกำรสอนเนื้อหำไปมำกแล้ว
ดังนั้นนักเรี ยนที่ได้ยำ้ ยมำระหว่ำงเทอม และเป็ นชนเผ่ำส่ วนมำกนี้เรี ยนรู ้ไม่ทนั นักเรี ยนอื่น
(แบบ บค.20)
จำกกำรจัดกิจกรรมกำรเรี ยนกำรสอนในรำยวิชำประวัติศำสตร์ ที่ผำ่ นมำผูว้ จิ ยั ได้ทำกำรวิเครำะห์ Problem treeโดยมีอำจำรย์ พุทธวรรณ ขันต้นธงเป็ น
ผูช้ ้ ีแนะจึงได้พบสำเหตุของผลสัมฤทธิ์ ทำงด้ำนกำรเรี ยนรำยวิชำประวัติศำสตร์ ของนักเรี ยนชั้นป.4 อยูใ่ นเกณฑ์ต่ำทั้งนี้ถำ้ วิเครำะห์จำกสภำพปั จจุบนั พบว่ำ
สำเหตุสำคัญ ซึ่ งผูว้ จิ ยั พอสรุ ปได้ดงั นี้คือนักเรี ยนไม่เข้ำใจเนื้อหำวิชำประวัติศำสตร์ เนื่องจำกครู ใช้สื่อกำรสอนแบบ CAT ซึ่ งวิชำนี้มีเนื้อหำเยอะต้องใช้
ควำมจำและมีกำรดูเป็ นเวลำนำนและจำกกำรที่ผวู ้ จิ ยั ศึกษำและได้ทบทวนวรรณกรรมของผูว้ จิ ยั หลำยๆท่ำนซึ่ งได้นำเอำรู ปแบบกำรจัดกำรเรี ยนรู้แบบ
Mind Map มำใช้กนั อย่ำงกว้ำงขวำงแล้วใช้ได้ผลดีดว้ ยส่ วนนีเ้ ป็ นการทบทวนวรรณกรรม
ดังนั้นผูว้ จิ ยั เชื่อว่ำถ้ำมีกำรนำรู ปแบบกำรจัดกำรควำมรู ้แบบ Mind Map มำใช้กบั นักเรี ยนชั้นป.4 โรงเรี ยนบ้ำนแม่ปั๋งแล้วจะส่ งผลให้นกั เรี ยนมี
ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยนวิชำประวัติศำสตร์ อยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงขึ้นได้
4.เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง(Literature review)
สรุปรูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Mind Map)(เกี่ยวข้องอย่างไรกับ KM การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ (Knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลีย่ น และประยุกต์ใช้ความรูใ้ นองค์กร
โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และ ปญั ญา ในทีส่ ุดการจัดการความรู้ประกอบไปด้วยชุดของการปฏิบตั งิ านที่
ถูกใช้โดยองค์กรต่างๆ เพื่อทีจ่ ะระบุ สร้าง แสดงและกระจายความรู้ เพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้และการเรียนรูภ้ ายในองค์กร อันนาไปสู่การ
จัดการสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ าเป็นสาหรับการดาเนินการธุรกิจทีด่ ี องค์กรขนาดใหญ่โดยส่ว นมากจะมีการจัดสรรทรัพยากร
สาหรับการจัดการองค์ความรู้ โดยมักจะเป็นส่วนหนึ่งของแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศหรือแผนกการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ความรูส้ ามารถแบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ ความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge) และ ความรูแ้ ฝงเร้น (Tacit Knowledge)
ความรู้ ชัดแจ้งคือความรูท้ เ่ี ขียนอธิบายออกมาเป็ นตัวอักษร เช่น คู่มอื ปฏิบตั งิ าน หนังสือ ตารา ส่วนความรูแ้ ฝงเร้นคือความรูท้ ฝ่ี งั อยูใ่ นตัวคน
ไม่ได้ถอดออกมาเป็นลายลักษณ์อกั ษร หรือบางครัง้ ก็ไม่สามารถถอดเป็นลายลักษณ์อกั ษรได้ ความรูท้ ส่ี าคัญส่วนใหญ่ มีลกั ษณะเป็นความรูแ้ ฝงเ
ร้น อยูใ่ นคนทางาน และผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละเรือ่ ง จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ ห้คนได้พบกัน สร้างความไว้วางใจกัน และถ่ายทอด
ความรูร้ ะหว่างกันและกันระดับของความรู้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ
1.ความรูเ้ ชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรูเ้ ชิงข้อเท็จจริง รูอ้ ะไร เป็นอะไร จะพบในผูท้ ส่ี าเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ทีม่ คี วามรูโ้ ดยเฉพาะความรูท้ ่ี
จามาได้จากความรูช้ ดั แจ้งซึง่ ได้จากการได้เรียนมาก แต่เวลาทางาน ก็จะไม่มนใจ
ั ่ มักจะปรึกษารุน่ พีก่ ่อน
2. ความรูเ้ ชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรูเ้ ชื่อมโยงกับโลกของความเป็ นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงทีซ่ บั ซ้อนสามารถนาเอา
ความรูช้ ดั แจ้งทีไ่ ด้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบในคนทีท่ างานไปหลายๆปี จนเกิดความรูฝ้ งั ลึกทีเ่ ป็ นทักษะหรือประสบการณ์มาก
ขึน้
3. ความรูใ้ นระดับทีอ่ ธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรูเ้ ชิงเหตุผลระหว่างเรือ่ งราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปญั หาที่
ซับซ้อน และประสบการณ์มาแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั ผูอ้ ่นื เป็ นผูท้ างานมาระยะหนึ่งแล้วเกิดความรูฝ้ งั ลึก สามารถอดความรูฝ้ งั ลึกของตนเองมา
แลกเปลีย่ นกับผูอ้ ่นื หรือถ่ายทอดให้ผอู้ ่นื ได้พร้อมทัง้ รับเอาความรูจ้ ากผูอ้ ่นื ไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้ ความรูใ้ นระดับคุณค่า
4. ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรูใ้ นลักษณะของความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ทข่ี บั ดันมาจากภายในตนเองจะเป็ นผูท้ ส่ี ามารถสกัด ประมวล
วิเคราะห์ ความรูท้ ต่ี นเองมีอยู่ กับความรูท้ ต่ี นเองได้รบั มาสร้างเป็นองค์ความรูใ้ หม่ขน้ึ มาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือทฤษฏีใหม่หรือนวัตกรรม
ขึน้ มาใช้ในการทางานได้
สรุปแนวคิ ดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการในการบริหารจัดการความรูไ้ ม่วา่ ความรูน้ นั ้ จะอยูใ่ นตัวบุคคล กระดาษ เอกสาร
คูม่ อื สือ่ หรือแหล่งความรูอ้ ่นื ๆนามาทาการรวบรวมข้อมูล จัดการให้เป็ นระบบ ระเบียบ ถูกต้อง ครบถ้วน ง่ายต่อการให้
บุคคลในองค์กรสามารถเข้าถึงและเรียกใช้ขอ้ มูล ความรูน้ นั ้ ๆได้และทีส่ าคัญทีส่ ดุ จะต้องมีการแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ พือ่ ให้เกิดความ
เข้าใจทีต่ รงกับความรูไ้ ปประยุกต์ใช้จนบุคคลในองค์กรสามารถพัฒนาตนเองและองค์กรเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลความรู้
สามารถแบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ ความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge) และความรูแ้ ฝงเร้น หรือความรู้
ั ก (Tacit Knowledge) ความรูช้ ดั แจ้งคือความรูท้ เ่ี ขียนอธิบายออกมาเป็ นตัวอักษร เช่น คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน หนังสือ ตารา
แบบฝงลึ
ั ใ่ นตัวคน ไม่ได้ถอดออกมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรือบางครัง้ ก็ไม่สามาร
เว็ปไซด์ Blog ฯลฯส่วนความรูแ้ ฝงเร้นคือความรูท้ ฝ่ี งอยู
ถถอดเป็ นลายลักษณ์อกั ษรได้ ความรูท้ ส่ี าคัญส่วนใหญ่ มีลกั ษณะเป็ นความรูแ้ ฝงเร้น อยูใ่ นคนทางาน และผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละ
เรือ่ ง จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ ห้คนได้พบกัน สร้างความไว้วาง
ใจกัน และถ่ายทอดความรูร้ ะหว่างกันและกัน
สรุปผลการทบทวนวรรณกรรม งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั การพัฒนาผลสัมฤทธ์ ิ ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 4
จากงานวิจยั ทีผ่ วู้ จิ ยั ได้ทาการศึกษา ทบทวนวรรณกรรมจากงานวิจยั ของผูว้ จิ ยั ท่านอื่นๆ ทัง้ 15 ท่านแล้วพบว่าสิง่ ที่
ได้รบั จากงานวิจยั คือ ทาให้ผวู้ จิ ยั ทราบถึงว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบแผนผังความคิด นี้ เป็ นรูปแบบของการจัดกิจกรรม
การเรียนรูท้ น่ี ามาใช้กบั รายวิชาต่างๆได้ เช่น วิชากอท. วิชาคณิตศาสตร์ วิชาสังคมศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ และวิชา
ภาษาอังกฤษ สามารถนามาใช้ได้หลากหลายทัง้ มัธยมศึกษาและประถมศึกษาทัง้ นี้จะช่วยพัฒนานักเรียนให้เกิดผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนอยูใ่ นเกณฑ์ทส่ี งู ขึน้ สามารถนามาปรับใช้กบั รายวิชาต่างๆ เน้นให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนการ
สอนมากทีส่ ดุ ส่งผลให้นกั เรียนเกิดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนอยูใ่ นเกณฑ์หรือระดับทีน่ ่าพอใจและดีได้ นอกจากนี้ยงั ทาให้ผวู้ จิ ยั
มองเห็นแนวทางในการนาเทคนิค วิธกี ารจัดการเรียนรู้ กระบวนการในการดาเนินการจัดกิจกรรมในรูปแบบ แผนทีค่ วามคิด
ั๋
(MIND MAP)มาใช้กบั นักเรียนในระดับประถมศึกษาชัน้ ป.4 โรงเรียนบ้านแม่ปงรวมทั
ง้ ได้ขอ้ เสนอแนะในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนแบบแผนทีค่ วามคิด(MIND MAP)ของงานวิจยั แต่ละท่านทีไ่ ด้นาเสนอไว้ฉะนัน้ ผูว้ จิ ยั คิดว่ารูปแบบการจัด
กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบนี้จะสามารถแก้ไขปญั หานักเรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาประวัตศิ าสตร์ต่าให้อยูใ่ นเกณฑ์ทส่ี งู
ขึน้ ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาที4่ โรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋
5.วัตถุประสงค์ ของการศึกษา(Purposes of the study)
1.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยน
2.เพื่อศึกษำควำมคิดเห็นต่อกำรใช้สื่อสื่ อผังควำมคิดช่วยสร้ำงเทคนิคกำรสอน
3.เพื่อฝึ กทักษะในกำรอ่ำนและเขียนเข้ำใจในกำรเรี ยน
4.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกำรเรี ยน
6.ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิ งประยุกต์ (Education/application advantages)
1.เพิ่มทักษะการเรี ยนให้ นกั เรี ยน
2.มีความเข้ าใจและสื่อความหมายที่ถกู ต้ องในการเรี ยนวิชาประวัติศาสตร์
3.สร้ างการเรี ยนรู้รูปแบบใหม่ให้ แก่นกั เรี ยนโรงเรี ยนบ้ านแม่ปั๋ง
7.แผนดาเนิ นการ ขอบเขตและวิ ธีการวิ จยั (Research designs,scope and methods)
7.1ขอบเขตของการวิ จยั
7.1.1ประชากรที่ใช้ในการวิ จยั
ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ นักเรียนระดับชัน้ ป.4 โรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋ ต.แม่ปงั ๋ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 1 ห้องเรียน
จานวน 21 คน
7.1.2กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิ จยั
กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ นักเรียนระดับชัน้ ป.4 โรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋ ต.แม่ปงั ๋ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่
1 ห้องเรียน จานวน 21 คน
7.2เนื้ อหาที่ใช้ในการวิ จยั
การวิจยั ครัง้ นี้ครูผวู้ จิ ยั ได้ดาเนินการโดยวิธวี จิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารในชัน้ เรียนโดยใช้วงจร PAOR 4 ขัน้ ตอนคือ ขัน้ วางแผน (Plan)
ขัน้ ปฏิบตั กิ าร (Act) ขัน้ สังเกตการณ์ (Observe) และขัน้ สะท้อนผลการปฎิบตั ิ (Reflect) เพื่อวางแผนการสอนตลอดทัง้ 3 สัปดาห์โดยสรุปตามข
วิ ธีการวิ จยั
วิ ธีดาเนิ นการวิ จยั
การวิจยั ครัง้ นี้ครูผวู้ จิ ยั ได้ดาเนินการโดยวิธวี จิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารในชัน้ เรียนโดยใช้วงจร PAOR 4 ขัน้ ตอนคือ ขัน้ วางแผน (Plan) ขัน้ ปฏิบตั กิ าร
(Act) ขัน้ สังเกตการณ์ (Observe) และขัน้ สะท้อนผลการปฎิบตั ิ (Reflect) เพื่อวางแผนการสอนตลอดทัง้ 3 สัปดาห์โดยสรุปตามขัน้ ตอนดังนี้
1. ขัน้ วางแผน (Plan) ครูผวู้ จิ ยั ได้วางแผนการเรียนรูก้ ่อนทาการสอนทุกครัง้ ทัง้ หมดจานวน 3 แผนสอนสัปดาห์ละ 1 ชัวโมง
่
รวมทัง้ หมด 3 ชัวโมง
่ เตรียมเนื้อเรือ่ งทีจ่ ะสอนให้กบั นักเรียน กาหนดหัวข้อทีจ่ ะให้นกั เรียนเขียนแผนผังความคิดของตนเองท้ายชัว่ โมง กาหนดเกณฑ์การ
บันทึกพฤติกรรมการเรียนรูแ้ ละการประเมินผลงานการเขียนแผนผังความคิดของนักเรียนในแต่ละครัง้ รวมถึงให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนการเรียนรูใ้ นชัวโมง
่
ที่ 1 และหลังการเรียนรูใ้ นชัวโมงที
่
่ 3 คือชัวโมงสุ
่
ดท้ายของการเรียนรู้
2. ขัน้ ปฏิบตั กิ าร (Act) ครูผวู้ จิ ยั ได้ดาเนินตามแผนทีว่ างไว้ดงั นี้
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 เรือ่ ง การออมทรัพย์ เป็นขัน้ ดูพน้ื ฐานของนักเรียนผูส้ อนและนักเรียนได้รว่ มกันร้องเพลง “เมืองเก่า” เพื่อกระตุน้
ความสนใจของนักเรียน หลังจากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาเนื้อหาและตอนท้ายชัวโมงให้
่
นกั เรียนเขียนแผนผังความคิดของเรือ่ งการสถาปนาราชวงค์พระ
ร่วงแห่งสุโขทัยทีเ่ รียนตามหัวข้อทีก่ าหนด พบว่านักเรียนมีความตื่นเต้นทีจ่ ะได้เรียนรูใ้ นแนวทีเ่ ปลีย่ นไปจากการเรียนรูเ้ ดิม แต่กย็ งั เขียนแผนผังความคิดที่
เกีย่ วกับเรือ่ งทีเ่ รียนยังไม่ถูกเท่าทีค่ วรและไม่สามารถทาเสร็จในชัวโมงแผนการจั
่
ดการเรียนรูท้ ่ี 2 เรือ่ ง พระมหากษัตริยส์ ุโขทัยและการปกครองสมัยสุโขทัย
ผูว้ จิ ยั เปลีย่ นจากการร้องเพลงมาเป็ นการถามคาถามชวนคิดเพื่อกระตุน้ ความสนใจพร้อมทัง้ ใช้คาถามเมื่อนักเรียนตอบคาถามครูชมเชยนักเรียนทีต่ อบถูกแต่ถา้
นักเรียนตอบไม่ถูกก็จะให้คาแนะนาเพิม่ เติมหลังเรียนครูให้นักเรียนทาแผนผังความคิดพร้อมเสนอผลงานแต่ละคนหน้าชัน้ เรียน พบว่ านักเรียนมีความท้อใจทีจ่ ะ
เขียนเพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยทีห่ ่วงการเล่นมากกว่าการเรียน มีนกั เรียนบางคนเสนอว่าอยากระบายสีตกแต่ง แต่อย่างไรก็ตามนักเรียนก็ ยงั สามารถเขียน
แผนผังความคิดของตนเองได้และเข้าใจมากกว่าชัวโมงที
่
่ 1แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 เรือ่ ง เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัยและการสิน้ สุดสมัยสุโขทัย ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียน
ดูส่อื ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างมาให้นกั เรียนดู ผูว้ จิ ยั และนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัยและการสิน้ สุดสมัยสุโขทัย โดยได้สอดแทรกสาระสาคัญของ
การรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย และร่วมกันสรุปจากนัน้ ให้นักเรียนลงมือเขียนแผนผังความคิดในหัวข้อทีก่ าหนดในเนื้อหาทีเ่ รียน พบว่ามีนกั เรียน
บางส่วนทีไ่ ม่ให้ความร่วมมือ ไม่นงที
ั ่ โ่ ต๊ะเรียนของตนเอง เดินเล่นไปมารบกวนสมาธิของเพื่อนทีต่ งั ้ ใจทางานแต่กย็ งั สามารถเขียนแผนผังความคิดของตนเองได้
อย่างถูกต้องและตรงกับเนื้อหาทีเ่ รียน มีความเข้าใจมากกว่าเดิมและทาเสร็จส่งทันในชัวโมงเรี
่
ยน
3. ขัน้ สังเกตและรวบรวมข้อมูล (observe) ครูผวู้ จิ ยั ทาการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธกี ารดังนี้ จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ จากแบบประเมินผลงานการเขียน
แผนผังความคิดของนักเรียนในแต่ละครัง้ การสอบวัดผลพัฒนาการโดยการทดสอบก่อนเรียนในสัปดาห์แรกและหลังเรียนในสัปดาห์สุดท้าย
4. ขัน้ สะท้อนผลการปฏิบตั ิ (Reflect) ข้อมูลทีไ่ ด้จากการบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ การเขียนแผนผังความคิดของนักเรียน นามาวิเคราะห์เพื่อนาผลทีไ่ ด้มา
ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่องตลอดวงจรดังนี้
4.1 จากปญั หาในแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 ครูผวู้ จิ ยั แก้ไขปญั หาทีพ่ บโดยครูผวู้ จิ ยั ได้สรุปเนื้อหาทีเ่ รียนอีกครัง้ พร้อมกับเขียนแผนผังความคิดให้ดูเป็น
ตัวอย่างพร้อมกับอธิบายหลักการเขียนแผนผังความคิดทีถ่ ูกวิธพี ร้อมทัง้ สอบถามความเข้าใจของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง นักเรีย นทีท่ าไม่เสร็จภายในชัวโมง
่
เรียน ครูผวู้ จิ ยั อนุญาตให้นากลับไปทาต่อทีบ่ า้ นแล้วนามาส่งในชัวโมงถั
่
ดไป
4.2 จากปญั หาในแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 ครูผวู้ จิ ยั แก้ไขปญั หาทีพ่ บโดยพูดให้กาลังใจและอนุ ญาตให้เด็กได้ระบายสีและตกแต่งแผนผังความคิดตาม
จินตนาการของนักเรียนและสอบถามความเข้าใจอย่างต่อเนื่องอย่างสม่าเสมอเพื่อให้นกั เรียนมีการเรียนรูแ้ ละเข้าใจได้ดขี น้ึ
4.3 จากปญั หาทีพ่ บในแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 ครูผวู้ จิ ยั ได้แก้ไขปญั หาทีพ่ บโดยได้ตกั เตือนนักเรียนว่าให้กลับไปนังที
่ โ่ ต๊ะเรียนของตนเองและ
ไม่ให้ส่งเสียงดังรบกวนสมาธิของผูอ้ ่นื ให้ตงั ้ ใจทางานของตนเองถ้านักเรียนคนใดยังทาไม่ได้หรือยังไม่เข้าใจก็จะดูแลเป็นรายบุคคลและพู ดให้คา
ชมเชยสาหรับนักเรียนทีต่ งั ้ ใจเรียนและตัง้ ใจเขียนแผนผังความคิดของตนเองเพื่อเป็นการเสริมแรงอีกวิธหี นึ่ง
7.5การสร้างเครื่องมือที่ ใช้ในการวิ จยั
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ได้แก่
1. แผนการจัดการเรียนรู้
2. แบบสังเกต ทักษะกระบวนการในขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม
3.แบบประเมินผลงานการเขียนแผนผังความคิดของนักเรียน
4. แบบประเมินชิน้ งาน
5.แบบประเมินทักษะสังคม
6.แบบทดสอบ
การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวม
1. แผนการจัดการเรียนรูท้ ผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขึน้ มีขนั ้ ตอนดังนี้
1.1 ศึกษาหลักสูตร
1.2 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ 3 แผนโดยใช้เวลาสอนแผนละ 2 ชัวโมง
่
2. แบบสังเกต ทักษะกระบวนการในขณะปฏิบตั กิ จิ กรรมดัง้ นี้
ผูว้ จิ ยั ให้คะแนนจาก 3 ส่วนคือ ความสนใจในเรือ่ งทีเ่ รียน การตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นและการแก้ไขปญั หา การเรียนรูแ้ บ่งคะแนนเป็ น
ส่วนละ 5 คะแนนเท่ากัน
3. แบบประเมินผลงานการเขียนแผนผังความคิดมีดงั ้ นี้
ผูว้ จิ ยั ให้คะแนนจาก 3 ส่วนคือ 1.ความถูกต้องในการเขียนแผนผังการจาแนกเนื้อหาจากหน่วยใหญ่ไปหาหน่วยย่อย 2.ความสวยงามและความสะอาด
3.ความถูกต้องในการอธิบายและการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาและการสรุปประเด็นสาคัญของเนื้อหา
4. แบบประเมินชิน้ งานมีดงั ้ นี้
ครูผวู้ จิ ยั ได้ให้คะแนนจากความถูกต้องในการวาดภาพ ความสวยงามและความสะอาด ความถูกต้องในการอธิบายเกีย่ วกับหน่วยทีเ่ รีย นได้
5.แบบประเมินทักษะสังคม
ผูว้ จิ ยั ได้ให้คะแนนจากการสังเกตใช้ทกั ษะทางสังคมในขณะปฏิบตั กิ จิ กรรมในห้องเรียนของนักเรียน
8. แบบทดสอบ ขัน้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูม้ ดี งั นี้
6.1 ศึกษาเอกสารและหนังสือทีเ่ กีย่ วข้องกับการสร้างแบบทดสอบชนิด 3 ตัวเลือก
6.2 วิเคราะห์เนื้อหารายวิชาทีน่ กั เรียนยังไม่เข้าใจ
6.3 สร้างแบบทดสอบ 3 ตัวเลือกจานวน 10 ข้อคะแนนเต็ม 10 คะแนน
6.4 นาแบบทดสอบทีส่ ร้างให้ครูพเ่ี ลีย้ งหรือผูเ้ ชีย่ วชาญตรวจสอบว่ามีความเทีย่ งตรงกับเนื้อหาหรือไม่และนามาแก้ไขอีกครัง้ ถ้ายังมี
ข้อบกพร่อง
6.5 นาแบบทดสอบไปใช้จริงกับนักเรียนทัง้ ก่อนเรียนและหลังเรียน
9. การเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยมีขนั ้ ตอนดาเนินการดังนี้
1. ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียนทดสอบก่อนเรียน 1 ครัง้
2. โดยผูว้ จิ ยั ได้สงั เกตทักษะกระบวนกานการเรียนรู้ ทักษะทางสังคมของนักเรียนและบันทึก
เป็นรายบุคคลในแต่ละชัวโมงที
่
ส่ อนจานวน 3 ครัง้
3. โดยผูว้ จิ ยั ประเมินผลงานการเขียนแผนผังความคิดของนักเรียนจานวน 2 ครัง้
4. โดยทีผ่ วู้ จิ ยั ประเมินจากชิน้ งานจานวน 2 ครัง้
5. ทดสอบหลังเรียนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ชุดเดียวกันกับแบบทดสอบก่อนเรียน
10. การจัดกระทาและการวิ เคราะห์ข้อมูล
1.โดยการหาค่าร้อยละของคะแนนทีไ่ ด้จากการบันทึกทักษะกระบวนการเรียนรูข้ องนักเรียนเป็นรายบุคคลในแต่ละครัง้ ทัง้ ชัน้ เรียน
2.โดยการหาค่าร้อยละของคะแนนทีไ่ ด้จากการบันทึกทักษะทางสังคมของนักเรียนเป็ นรายบุคคลในแต่ละครัง้ ทัง้ ชัน้ เรียน
3.โดยการหาค่าร้อยละและค่าเฉลีย่ ร้อยละของคะแนนทีไ่ ด้จากการประเมินผลงานการเขียนแผนผังความคิดของนักเรียนเป็ นรายบุคคลในแต่
ละครัง้ ทัง้ ชัน้ เรียน
4.โดยการหาค่าร้อยละและค่าเฉลีย่ ร้อยละของคะแนนทีไ่ ด้จากชิน้ งาของนักเรียนเป็ นรายบุคคลในแต่ละครัง้ ทัง้ ชัน้ เรียน
5
5.โดยการหาค่าเฉลีย่ ค่าร้อยละของแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
การแปลความหมายของคะแนน
ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนนร้อยละจากพฤติกรรมการเรียนรูใ้ นชัน้ ของนักเรียน จากการประเมินผลการเขียนแผนผังความคิดของนักเรียนคะแนน
เต็มครัง้ ละ 20 คะแนนจานวน 4 ครัง้ รวมเป็น 80 คะแนน
แบบประเมิ นทักษะกระบวนการเรียนรู้
เกณฑ์การแปลความหมายจากคะแนน
ร้อยละ
80-100
หมายถึง ระดับดีมาก
ร้อยละ
70-79
หมายถึง ระดับดี
ร้อยละ
60-69
หมายถึง พอใช้
ร้อยละ
50-59
หมายถึง ระดับน้อย
ต่ากว่าร้อยละ
50
หมายถึง ควรปรับปรุง
แบบประเมิ นทักษะทางสังคม
เกณฑ์การแปลความหมายจากคะแนน
ร้อยละ
80-100
หมายถึง ระดับดีมาก
ร้อยละ
70-79
หมายถึง ระดับดี
ร้อยละ
60-69
หมายถึง พอใช้
ร้อยละ
50-59
หมายถึง ระดับน้อย
ต่ากว่าร้อยละ
50
หมายถึง ควรปรับปรุง
แบบประเมิ นการเขียนผังความคิ ด
เกณฑ์การแปลความหมายจากคะแนน
ร้อยละ
80-100
หมายถึง ระดับดีมาก
ร้อยละ
70-79
หมายถึง ระดับดี
ร้อยละ
60-69
หมายถึง พอใช้
ร้อยละ
50-59
หมายถึง ระดับน้อย
ต่ากว่าร้อยละ
50
หมายถึง ควรปรับปรุง
แบบประเมิ นชิ้ นงาน
เกณฑ์การแปลความหมายจากคะแนน
ร้อยละ
80-100
หมายถึง ระดับดีมาก
ร้อยละ
70-79
หมายถึง ระดับดี
ร้อยละ
60-69
หมายถึง พอใช้
ร้อยละ
50-59
หมายถึง ระดับน้อย
ต่ากว่าร้อยละ
50
หมายถึง ควรปรับปรุง
แบบทดสอบ
เกณฑ์การแปลความหมายจากคะแนน
ร้อยละ 80 คะแนน ขึน้ ไป หมายถึง ดีมาก
ร้อยละ
70-79 หมายถึง ดี
ร้อยละ 60-69 หมายถึง ปานกลาง
ร้อยละ 50-59 หมายถึง พอใช้
ต่ากว่า 50
หมายถึง ควรปรับปรุง
12.สถานที่ที่ใช้ในการดาเนิ นการวิ จยั และรวบรวมข้อมูล (Location)
โรงเรียนบ้านแม่ปงั ๋ ตัง้ อยูห่ มูท่ ่ี 14 ตาบลแม่ปงั ๋ อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 1 ห้องเรียน จานวน 21 คน
13.ระยะเวลาในการดาเนิ นการวิ จยั (Duration)
ใช้ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลประมาณ 4 เดือน ตัง้ แต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน 2555
14.เอกสารอ้างอิ ง
อ.พุทธวรรณ ขันต้นธง.หลักการการวิ จยั การจัดการความรู้.วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.2554.
องค์การแห่งความรู้ : จากแนวคิดสู่การปฏิบตั ,ิ ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์,2549. พิมพ์ครัง้ ที่ 3กรุงเทพฯ: รัตนไตร.
สิง่ ดีๆ ทีห่ ลากหลายสไตล์ KM (Best Practice KM Style). รายงานประจาปี 2549 สถาบันส่งเสริมการจัดการความรูเ้ พื่อสังคม (สคส.)
ISBN 974-973-423-1
รายงานประจาปี KM ประเทศไทย (สคส.) 2548 ISBN 974-93722-9-8
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2548). การจัดการความรู.้ ใน วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 45(2), 1-24. พิเชฐ บัญญัต.ิ (2549).
การจัดการความรูใ้ นองค์กร. ใน วารสารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 13(1), 118- 122.
คณะทางาน KM สานักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ความหมายของแผนผังความคิ ด (ออนไลน์2552) แหล่งทีม่ า
http://learners.in.th/blog/wgcdr/256412.
จิรพรรณ จิตประสาท. การใช้แผนผังความคิ ดและการบริ หารสมองในการสอนกลุ่มสร้างเริ มประสบการณ์ ชีวิตสาหรับนักเรียนชัน้
ประถมศึกษาปี ที่ 5. เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตร์มหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทนี บูซาน. (2544). วิ ธีเขียน Mind Map (How to Mind Map). (ธัญกร วีรนนท์ชยั , ผูแ้ ปล). กรุงเทพฯ: ขวัญข้าว 94.
ธัญญา และ ขวัญฤดี ผลอนันต์ (2550). Mind Map ® กับการศึกษาและการจัดการความรู้ กรุงเทพฯ: ขวัญ ข้าว’ ๙๔ .
พรพันธ์ อิสระ (2545). การใช้ผงั มโนภาพในการพูดเล่าเรื่องของนักเรียนชาวเขาชัน้ ประถมปี ที่ 5. เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์
ศึกษา ศาตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิกพิ เี ดีย. (2552). ความหมายของแผนผังความคิ ด. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า www.wikipedia.org.
สมชาย มาต๊ะพาน (2547). การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ของนักเรียนขัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 5
1 โดยใช้เทคนิ คการวาดผังมโนภาพ. เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตร์มหาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมศักดิ ์ สินธุระเวชญ์. (2544ข). เอกสารประกอบการบรรยาย Mind mapping กับการศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุวทิ ย์ มูลคาและอรทัย มูลคา. (2543). การเรียนรู้ส่คู รูมืออาชีพ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สุวทิ ย์ มูลคา. (2543). การเรียนรู้ส่คู รูมืออาชีพ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษทั ที.พี.ปรินท์ จากัด. ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์.
(ออนไลน์ 2552). กฎ ของการใช้ Mind Map.แหล่งทีม่ าhttp://drm1.igetweb.com
ชลวิภา เฟื่องกาญจน์ (2547). การใช้กิจกรรมแผนผังความคิ ดเพื่อเพิ่ มพูนความสามารถทางภาษาอังกฤษและ
ทักษะการคิ ดของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3. เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาตรมหาบัณฑิต บัณทิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฐิตยิ า จองหมุง่ . (2549). การพัฒนาทักษะเชิ งสร้างสรรค์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ผงั มโนภาพ. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาตรมหาบัณฑิต บัณทิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.