การปฏิบัติ

Download Report

Transcript การปฏิบัติ

มุมกล้องและการประกอบภาพ
ภาพวีดทิ ศั น์
ขนาดภาพ
 ELS
 LS
 MS
 CU
 ECU
ขนาดภาพ ELS
 Extra Long Shot
 ใช้เปิดฉากหรือเปิดรายการ
 มักจะใช้ก่อนเป็ น Zoom shot
 ให้ความรู้สึกอ้างว้าง อาจใช้เป็ นมุมสูงร่วมด้วย
ขนาดภาพLS
 Long Shot
 ใช้เพื่อนาเสนอ ให้เห็นภาพทัง้ หมด
 มักจะใช้ก่อนจะ ตัดเป็ นภาพขนาดอื่น
 แสดงเรื่องราว
ขนาดภาพ MS
 Medium Shot
 ใช้เน้ นหรือ ดาเนินรายการ
 มักจะใช้ก่อนเป็ น Zoom shot
 ให้ความรู้สึกน่ าสนใจ
ขนาดภาพ CU
 Clouse Up
 ใช้เพื่อเน้ น หรือสื่อความหมาย
 มักจะใช้เป็ น ภาพ Insert shot
 เน้ นอารมณ์ และความรู้สึก
ขนาดภาพ ECU
 Extra Clouse Up
 ใช้เพื่อ เน้ นหรือเป็ นประเด็น หรือเป็ น สัญลักษณ์
 มักจะใช้ตด
ั สลับกับภาพที่เป็ นผลต่อเนื่ องกัน
 ให้ความรู้สึกกดดัน บีบเค้นอารมณ์
มุมกล้อง
 มุมสูง
 ระดับสายตา
 มุมต่า
กล้องมุมสูง High Angle
 กล้องอยูเ่ หนือสายตา
ผูแ้ สดง
 ผูแ้ สดงจะดู กด ไม่มค
ี ุณค่า
 บางครัง้ ต้องถ่ายเพราะอาจไม่ม ี
มุมถ่าย
กล้องระดับสายตา EyeLevel
กล้องอยูร่ ะดับสายตา ผูแ้ สดง
 ผูแ้ สดงจะดูปกติ มีการสบตากับกล้อง
 มักใช้ เป็ น ช็อตปกติ หากไม่มค
ี าสังให้
่
ใช้ แบบอื่น หากผูแ้ สดงต่ากว่ากล้อง
ต้อง ย่อกล้องมาในระดับสายตาด้วย

กล้องมุมต่า Low Angle
กล้องอยูร่ ะดับต่ากว่าสายตา ผูแ้ สดง
 ผูแ้ สดงจะดูสง่า เชิด การปรายตา
 มักใช้กบ
ั การแสดงถึง ความยิง่ ใหญ่ การ
ประสบความสาเร็จ และความสูงส่งการ
ถ่ายปกติ จะให้กล้องต่ากว่าแบบเล็กน้อย

การเคลื่อนทีข่ องกล้อง

กล้องไม่เคลื่อนที่
Shif Focus
 Zoom


กล้องเคลื่อนที่

การส่าย
 แพน
 ทิลท์

การเคลื่อนที่
 Dolly
 Truck
 Track
 Arc
 Cran/Boom
การซูม Zoom
1. ลักษณะการซูม (Zoom) เป็ นการเปลี่ยนขนาดของ
ภาพขณะกาลังบันทึกภาพ โดยไม่ต้องเคลื่อนที่กล้ องหรื อเปลี่ยน
ตาแหน่งการตังกล้
้ องเป็ นการเปลี่ยนขนาดภาพโดยใช้ การเคลื่อนที่
ของชิ ้นเลนส์
ลักษณะการซูม
การเปลี่ยนขนาดภาพถ้ าเปลี่ยนจากภาพขนาดมุมกว้ างมา
เป็ นมุมแคบจะรี ยกว่า Zoom In
ถ้ ามุมแคบเป็ นมุมกว้ างจะเรี ยกว่า Zoom Out
วัตถุประสงค์ การซูม Zoom
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ผ้ ชู มรู้สกึ ว่า สิ่งที่ถ่ายถูกดึงเข้ ามา
ใกล้ ตวั หรื อถอยห่างออกไป เกิดการเคลื่อนไหวขึ ้นในภาพ
เนื่องจากมีการเปลี่ยนขนาดของภาพอย่างต่อเนื่อง
เทคนิค การใช้ Zoom แต่ละครัง้ จะต้ องพิจารณาเรื่ องของ
จังหวะของการซูมว่าช้ าหรื อเร็ว เพราะจะมีผลต่อความรู้สึกของผู้ชม
กล่าวคือ ถ้ า Zoom ช้ า จะให้ ความรู้สกึ ค่อยเป็ นค่อยไป นุ่มนวล
เหมาะกับฉากเหตุการณ์ที่มีบรรยากาศอ่อนหวานหรื อเศร้ า ในขณะ
ที่การ Zoom เร็ว จะเหมาะกับฉากที่ตื่นเต้ น, ฉากที่ต้องการการ
เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วเพราะเป็ นการดึงภาพเข้ าออกอย่าง
กะทันหัน
เทคนิคการซูม Zoom
การปฏิบัติ
การซูมอิน ทาได้ โดยการกดนิ ้วกลางที่ ตัวอักษร T ที่
ปุ่ มควบคุม เพื่อบังคับให้ มอเตอร์ ในกล้ องทาหน้ าที่เปลี่ยนชิ ้น
เลนส์
การซูมเอ้ าส์ ทาได้ โดยใช้ นิ ้วชี ้กดที่ตวั อักษร W ที่ปมุ่
ควบคุมเช่นกัน
การชิพโฟกัส Shif Focus
2. ลักษณะการชิพโฟกัส(Shif Focus)
เป็ นการควบคุมชิ ้นเลนส์เพื่อเปลี่ยนความคมชัดของ
ภาพ ไปยังวัตถุ 2 จุดในภาพ
A
B
A
B
วัตถุประสงค์ การชิพโฟกัส Shif Focus
วัตถุประสงค์
เพื่อเน้ นความสนใจ หรื อใช้ เพื่อแสดงความ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่ง 2สิ่งในภาพ จะเป็ นการบังคับ
ผู้ชมให้ ติดตามหรื อสนใจในสิ่งที่ชดั เจน
เทคนิคการชิพโฟกัส Shif Focus
เทคนิค การชิพโฟกัสจาเป็ นที่จะต้ องให้ กล้ อง
บันทึกภาพในลักษณะชัดตื ้น ทาได้ 2ลักษณะคือ ใช้ รูรับแสง
ที่กว้ าง ซึง่ จะต้ องไปเกี่ยวข้ องกับความเร็วชัตเตอร์ อีก อีก
ส่วนหนึง่ ที่ทาได้ ง่ายคือ ใช้ การเคลื่อนกล้ องออกมาห่างจาก
วัตถุ แล้ วใช้ การซูมเข้ าไปให้ มากที่สดุ ภาพจะเป็ นลักษณะ
ชัดตื ้น
การปฏิบัติ การชิพโฟกัส Shif Focus
การปฏิบัติ การชิพโฟกัสทาได้ โดยการใช้ มือ
ซ้ ายนิ ้วชี ้กับนิ ้วหัวแม่มือ จับส่วนที่โฟกัสไว้ แล้ วปรับ
จนชัดแล้ วให้ นิ ้ว หัวแม่มือสัมผัสกับส่วนของก้ าน
เลนส์ไว้ และหมุนโฟกัสจดได้ ภาพชัดในจุดที่2 ให้ นา
นิ ้วชี ้ไปแต่ที่สว่ นบน เมื่อต้ องการโฟกัสที่จดุ แรกให้
หมุนเลนส์กลับมาจนนิ ้วหัวแม่มือแตะ ก็จะได้ โฟกัส
วัตถุแรกที่วางไว้
การสื่อความหมายโดยกล้ องเคลื่อนที่
ข. การสื่อความหมายโดยภาพเปลี่ยนไปแต่ ใช้
การเคลื่อนที่ของกล้ อง มีอยู่ด้วยกัน 7 ลักษณะคือ
1.ลักษณะการแพน (Pan)
2.ลักษณะการทิลท์ (Tilting)
3.ลักษณะการดอลลี่ (Dolly)
4.การทรักต์ (Trucking )
5.ลักษณะการแทรก(Tracking)
6.ลักษณะการเครนหรื อบูม
(Crane-Boom)
7.การสัน่ หรื อโยก(Vibration-Cant)
การแพน(Pan)
1.ลักษณะการแพน (Pan) เป็ นวิธีการเคลื่อนที่กล้ องถ่าย
ในลักษณะการส่ายกล้ องเคลื่อนที่ไปในแนวนอนหรื อแนวราบ
อาจเริ่ มจากซ้ ายไปขวา หรื อจากขวาไปซ้ ายก็ได้
วัตถุประสงค์
ของการแพนกล้ องอาจเกิดขึ ้นได้ จาก
วัตถุประสงค์ของการนาเสนอหลายประการ
หนึง่ คือเพื่อให้ เกิด
ความสัมพันธ์หรื อเกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่ถ่ายสองสิ่งที่อยูห่ า่ ง
กัน เช่นการแพนจากคนที่เฝ้ามองไปยัง บุคคลหนึง่ ที่ยืนอยู่ หรื อใช้ ใน
การตามวัตถุที่มีการเคลื่อนที่จากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ ในภาพ
เทคนิคการแพน(Pan)
เทคนิค การแพนสามารถทาได้ ทงการถ่
ั้
ายแบบแบกบ่า
หรื อใช้ ขาตังกล้
้ องทาได้ โดยลองแพน เพื่อหาจุดเริ่ มต้ นและจุด
สุดท้ ายในการแพนในหากใช้ ขาตังกล้
้ องจะสามารถปรับปุ่ ม
ล็อกหรื อปรับปุ่ มฝื ดที่ขา ตังกล้
้ องเพื่อช่วยให้ การแพนเป็ นไป
อย่างนุ่มนวลได้ การแพนเริ่ มจากการทดลองและเมื่อพร้ อมให้
เริ่ มบันทึก ก่อนซัก 2-3วินาทีก่อนที่จะแพน เมื่อแพนไปแล้ วไม่
ควรเกิน 90-135 องศาเมื่อถึงจุดที่ตงใจไว้
ั ้ ให้ หยุดแพนและ
บันทึกต่ออีก 2-3 วินาทีก่อนจะกดปุ่ มหยุดบันทึก
การปฏิบัติ แพนซ้ าย(Pan Left)
การปฏิบัติ
การแพนซ้ ายทาได้ โดยการคลายปุ่ มล็อกแล้ วใช้ มือขวาจับ
ก้ านควบคุมดันออกไปจากตัวกล้ องจะหันไปทางด้ านซ้ าย
การปฏิบัติ แพนขวา(Pan Right)
การปฏิบัติ
การแพนขวา ผู้ถ่ายจะต้ องกะระยะให้ ดีเพราะจะต้ องใช้ มือ
ขวาจับก้ านควบคุมดึงเข้ าหาตัวกล้ องจะหันไปทางด้ านขวา
การทิลท์ (Tilting)
2. ลักษณะการทิลท์ (Tilting) เป็ นการเคลื่อนไหวกล้ อง
อีกลักษณะหนึง่ เป็ นการเคลื่อนกล้ องในแนวดิ่ง (Veritcal Pan) กล้ อง
ถ่ายจะยังคงอยูใ่ นระดับเดิมเพียงแต่มมุ การบันทึกภาพเท่านัน้ ที่ถกู
ขยับไปในองศาที่สงู ขึ ้นกว่าเดิม หรื อองศาถูกกดต่ากว่าเดิม
วัตถุประสงค์ คือ ใช้ ในการนาเรื่ องจากสิ่งหนึง่ ไปยังอีกสิ่งหนึง่
หรื อตามการเคลื่อนที่ของวัตถุในลักษณะแนวดิ่ง
เทคนิคการทิลท์ (Tilting)
เทคนิค การทิลท์สามารถทาได้ ทงการถ่
ั้
ายแบบแบกบ่าหรื อใช้
ขาตังกล้
้ องทาได้ โดยลองทิลท์ เพื่อหาจุดเริ่ มต้ นและจุดสุดท้ ายใน
การทิลท์หากใช้ ขาตังกล้
้ องจะสามารถปรับปุ่ มล็อกหรื อปรับปุ่ มฝื ดที่ขา
ตัง้ กล้ องเพื่อช่วยให้ การทิลท์เป็ นไปอย่างนุ่มนวลได้
การทิลท์ควรเริ่ มจากการทดลองทิลท์และเมื่อพร้ อมให้ เริ่ มบันทึก
เทปประมาณ 2-3วินาทีก่อนที่จะทิลท์ เมื่อทิลท์ไปแล้ วไม่ควรเกิน 90
องศาเมื่อถึงจุดที่ตงใจไว้
ั ้ ให้ หยุดทิลท์และบันทึกต่ออีก 2-3 วินาทีก่อน
จะกดปุ่ มหยุดบันทึก
การปฏิบัติ การทิลท์อพั (Tilt-up)ทาได้ โดยการคลาย
ปุ่ มล็อกแล้ วใช้ มือขวาจับก้ านควบคุมดันให้ ต่าลงตัว
กล้ องจะหันกระดกขึ ้นสูง
การปฏิบัติ การทิลท์ดาวน์ (Tilt-Down)ใช้ มือขวาจับก้ าน
ควบคุมค่อยๆดึงขึ ้นกล้ องจะกดหน้ าลง
การดอลลี่(Dolly)
3. ลักษณะการดอลลี่ (Dolly) เป็ นวิธีการเคลื่อนไหว
กล้ องในรูปแบบการตังอยู
้ บ่ นพาหนะที่มีล้อซึง่ เคลื่อนที่ไปมาบนพื ้น
หรื อเลื่อนไปตามราง ทาให้ สามารถเคลื่อนที่ตามภาพเหตุการณ์ได้
ในมุมมองต่างๆ กัน เหมาะสาหรับการบันทึกภาพอย่างต่อเนื่อง
เป็ นช็อตยาว
วัตถุประสงค์ การดอลลี่(Dolly)
วัตถุประสงค์ จะใช้ เพื่อ เน้ นความสนใจของวัตถุ ขณะที่
กล้ องถ่ายภาพค่อยๆ เลื่อนเข้ าหาสิ่งที่ถ่ายหรื อถอยออก จะส่งผลให้
ความสัมพันธ์ระหว่างฉากหน้ า (Foreground) และฉากหลัง
(Background) จะเปลี่ยนไปและขนาดของวัตถุก็จะเปลี่ยนตาม
การดอลลี่เข้ าจะให้ ความรู้สกึ ว่าสิ่งที่ถ่ายนันมี
้ ความสาคัญ การดอล
ลี่ออก จะนิยมใช้ เมื่อเหตุการณ์นนไม่
ั ้ น่าสนใจ เป็ นเหตุการณ์ที่กาลัง
จบสิ ้น
เทคนิคการดอลลี่(Dolly)
เทคนิค การดอลลี่ กล้ องจะอยูบ่ นวัตถุที่มีการเคลื่อนที่
โดยใช้ รางหรื อวัตถุที่มีล้อก็ได้ หรื อใช้ ติดกับตัวช่างภาพก็ได้
เรี ยกว่า สเตรดิแคม
การปฏิบัตกิ ารดอลลี่(Dolly)
การปฎิบัติ การดอลลี่นี ้จะมีลกั ษณะการเคลื่อนกล้ องเข้ า
หาสิ่งที่ถ่าย เรี ยกว่า ดอลลี่อิน (Dolly in) และถ้ าเคลื่อนกล้ องถอย
ห่างจากสิ่งที่ถ่าย เรี ยกว่า Dolly Out
(Dolly in)
Dolly Out
การทรักต์ (Trucking)
4. การทรักต์ (Trucking ) เป็ นการเคลื่อนไหวของ
กล้ องในทางขนานกับวัตถุหรื อเลียบเคียงสิ่งที่ถ่าย ในบางกรณีการ
เคลื่อนที่ของกล้ องอาจไม่เป็ นแนวตรงแต่จะเคลื่อนในลักษณะเฉียง
โค้ ง อาจเรี ยกว่าอาร์ ค(Arc)
(Truck)
Top View
(Arc)
วัตถุประสงค์ ของการทรักต์ (Trucking)
วัตถุประสงค์ เป็ นการสร้ างภาพให้ น่าสนใจ ภาพที่
ได้ ฉากหลังจะเคลื่อนที่ไปจะเห็นวัตถุในมุมอื่นด้ วย มักใช้ ใน
กรณีนาเสนอข้ อมูลหนึง่ แล้ วขยายเพื่อให้ ได้ ทราบเนื ้อหาใน
มุมอื่นเพิ่มขึ ้น
เทคนิคการทรักต์ (Trucking)
เทคนิค การทรั กต์ กล้ องจะอยู่บนวัตถุท่ มี ีการ
เคลื่อนที่ โดยใช้ รางหรือวัตถุท่ มี ีล้อก็ได้ หรื อใช้ ตดิ กับตัว
ช่ างภาพก็ได้ เรียกว่ า สเตรดิแคม
เทคนิคการทรักต์ (Trucking)
การปฏิบัติ ใช้ กล้ องวางไว้ บนวัตถุที่สามารถเคลื่อนที่
ได้ แล้ วใช้ การลากหรื อเข็นเพื่อไปยังทิศทางที่ต้องการ
การแทร็ก(Tracking)
5. ลักษณะการแทร็ก(Tracking)จะใช้ การเคลื่อนที่
ตามหรื อคูข่ นานไปกับสิ่งที่ถ่าย อาจเป็ นระดับการเคลื่อนไหวที่คู่
เคียงกันไป หรื อตาแหน่งของกล้ องนาหน้ า วัตถุเคลื่อนที่ตาม
Top View
(Track)
วัตถุประสงค์ การแทร็ก(Tracking)
วัตถุประสงค์
มักใช้ เพื่อการนาเสนออย่างต่อเนื่องกับวัตถุที่มีการ
เคลื่อนที่ตลอดเวลา
เทคนิคการแทร็ก(Tracking)
เทคนิค การแทร็ก กล้ องจะอยูบ่ นวัตถุที่มีการเคลื่อนที่
โดยใช้ รางหรื อวัตถุที่มีล้อก็ได้ หรื อใช้ ติดกับตัวช่างภาพก็ได้
เรี ยกว่า สเตรดิแคม
การปฎิบัติ ใช้ กล้ องวางไว้ บนวัตถุที่สามารถเคลื่อนที่
ได้ แล้ วใช้ การลากหรื อเข็นเพื่อไปยังทิศทางที่ต้องการ
การเครนหรื อบูม(Crane-Boom)
6. ลักษณะการเครนหรื อบูม(Crane-Boom) เป็ น
การเคลื่อนกล้ องโดยใช้ อปุ กรณ์โดยเป็ นการเคลื่อนกล้ องจากที่สงู
แล้ วเคลื่อนมาต่า
Crane
วัตถุประสงค์ ของการเครนหรือบูม
วัตถุประสงค์ เพื่อสร้ างสรรค์เทคนิค มุมกล้ องใหม่ๆ
ทาให้ เกิดมุมมองหรื อความหมายที่ตา่ งไปเป็ นการเน้ นวัตถุที่
ถูกถ่าย
เทคนิคของการเครนหรือบูม
เทคนิค การเครนหรื อบูมนันขณะที
้
่เคลื่อนที่นนจะ
ั้
มีการเคลื่อนที่ของกล้ องไปด้ วยทาให้ ได้ ภาพที่น่าสนใจ
ปฎิบัติ
การเครนหรื อบูมมีอยู่ 2ลักษณะคือ
การเครนอัพ คือเคลื่อนที่จากต่าไปสูง
การเครนดาวน์ คือจากสูงลงมาต่า
การสั่นหรือโยก(Vibration-Cant)
7. การสัน่ หรื อโยก(Vibration-Cant) เป็ นการ
สัน่ หรื อโยกเอียงกล้ อง
Vibration
การสัน่ หรื อโยก(Vibration-Cant)
วัตถุประสงค์ เพื่อสื่อความหมายของ
ลักษณะเกิดการสัน่ สะเทือนของสิ่งของที่หนักหล่น
ลงกระทบพื ้นแทนแผ่นดินไหวหรื อแทนสายตาของ
วัตถุที่กาลังควบคุมตนเองไม่ได้ ทาให้ เกิดความ
สมจริง
เทคนิคการสัน่ หรื อโยก
เทคนิค ใช้ การสัน่ เมื่อเหตุการณ์ทีเกิดขึ ้นมีไม่มาก หรื อ
ใช้ การเขย่าเมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรงหรื อใช้ การโยก เมื่อควบคุม
ไม่ได้
การปฏิบัติ สามารถทาได้ ทงการวางกล้
ั้
องไว้ บนขาตังกล้
้ อง
หรื อวัตถุที่ทาขึ ้นมาเช่นบนบอร์ ดสปริ ง หรื อแบกบนบ่าแล้ วโยกเอียงไป
มา
ภาพกับการเห็น(POV)
 Subjective View
 Objective View
Subjective View
 เป็ นมุมกล้องแทน ผูช
้ มทีส่ งั เกต
อยูภ่ ายนอก ไม่ได้อยูใ่ น
สายตาของตัวแสดง
Objective View
 ใช้มม
ุ กล้อง สือ่ ภาพทีเ่ กิดจาก
การเห็นของผูแ้ สดง
การจัดองค์ประกอบภาพวีดทิ ศั น์
การประกอบภาพ

การประกอบภาพวีดทิ ศั น์คอื การจัดวางองค์ประกอบภาพหรือสิง่
ต่างๆ ทีป่ รากฏบนจอภาพวีดทิ ศั น์ให้อยูใ่ นตาแหน่งทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้
ผูด้ สู ามารถติดตามเรือ่ งราวและการแสดงแต่ละฉากแต่ละตอนได้อย่าง
ต่อเนื่อง และสามารถเข้าถึงจุดสาคัญของเรือ่ งได้อย่างถูกต้อง ซึง่
การทีจ่ ะบรรลุถงึ วัตถุประสงค์ดงั กล่าวได้นนั ้ ในการประกอบภาพแต่
ละครัง้ จะต้องคานึงถึงการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ เพราะการเคลื่อนไหว
เป็ นสิง่ ทีท่ าให้ภาพบนจอภาพวีดทิ ศั น์ดาเนินไปอย่างมีชวี ติ ชีวา สิง่ นี้
เองทีท่ าให้การประกอบภาพในภาพวีดทิ ศั น์แตกต่างไปจากการ
ประกอบภาพในศิลปะแขนงอื่นๆ รวมทัง้ ศิลปะภาพถ่ายซึง่ เป็นศิลปะ
ทีส่ อ่ื ความหมายด้วยภาพเหมือนกัน

การเปลีย่ นแปลงของสาเหตุและการแสดงต่างๆ บนจอภาพวีดทิ ศั น์จะ
ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็ นขัน้ เป็ นตอน และในขณะทีเ่ หตุการณ์และ
การแสดงเปลีย่ นไป เวลาก็เปลีย่ นแปลงตามไปด้วย เพราะ
เหตุการณ์และการแสดงบนจอภาพวีดทิ ศั น์กนิ เวลาเหมือนเหตุการณ์
ทีเ่ กิดขึน้ ในโลกของความเป็ นจริง ซึง่ เราเรียกว่า เวลาในภาพวีดิ
ทัศน์(time)
ภาพวีดทิ ศั น์ทด่ี ี

ภาพวีดทิ ศั น์ทด่ี คี วรจะเป็ นการบันทึกภาพการแสดงหรือเหตุการณ์ท่ี
เคลื่อนไหวแก่การสนใจและในขณะเดียวกันจะต้องประกอบภาพอย่าง
พิถพี ถิ นั คานึงถึงความสวยงามของภาพ โดยวางสิง่ ทีถ่ ่ายและมุม
กล้องในตาแหน่งทีเ่ หมาะสม เพราะการประกอบภาพทีด่ จี ะช่วยเพิม่
ความน่าสนใจและช่วยทาให้การเล่าเรือ่ งเป็ นไปอย่างน่าติดตามยิง่ ขึน้
ดังนัน้ ผูถ้ ่ายภาพวีดทิ ศั น์ซง่ึ เป็ นผูร้ บั ผิดชอบการประกอบภาพจะต้อง
พิจารณาถึงความสวยงามของภาพ ความหมายของเรือ่ งราวและการ
เคลื่อนไหวบนจอภาพวีดทิ ศั น์ไปพร้อมๆ กัน
ภาพวีดทิ ศั น์ทด่ี ี

ในทางปฏิบตั ผิ ถู้ ่ายภาพวีดทิ ศั น์มไิ ด้วางแผนประกอบภาพทีละชอต
แต่ละเริม่ ด้วยการจัดองค์ประกอบภาพในฉากนัน้ ทัง้ ฉาก รวมทัง้
ศึกษาการแสดงและการเคลื่อนไหวของตัวแสดงในฉากนัน้ ทัง้ หมด
จัดวางตาแหน่งของสิง่ ทีป่ ระกอบฉากและการเคลื่อนไหวทุกอย่างให้
ได้รปู ทรงสวยงามลงตัว แล้วจึงจัดแสดงให้แก่ตวั แสดงและฉากนัน้ ทัง้
ฉาก จากนัน้ จึงแยกการแสดงของฉากนัน้ ออกเป็ นส่วนๆ ตามที่
บันทึกภาพในแต่ละชอต แล้วจึงจัดวางตาแหน่งกล้อง และอาจจัด
แต่งแสงแต่ละชอตตามความเหมาะสมอีกครัง้ หนึ่ง ก่อนทีจ่ ะ
บันทึกภาพชอตนัน้
ภาพวีดทิ ศั น์ทด่ี ี

เพือ่ ให้การประกอบภาพมีความสวยงามและสามารถสือ่
ความหมายได้ดที ส่ี ดุ ผูถ้ ่ายภาพวีดทิ ศั น์ควรศึกษาบทภาพวีดทิ ศั น์ให้
เข้าใจทัง้ ในเรือ่ งของฉากและการแสดงทัง้ หมด และควรวิเคราะห์
เรือ่ งราวของภาพวีดทิ ศั น์ดว้ ยว่าในแต่ละฉากแต่ละตอนต้องการให้คน
ดูเกิดความรูส้ กึ เช่นใด เช่น ภาพวีดทิ ศั น์บางตอนอาจต้องการให้คน
ดูเกิดความรูส้ กึ เวทนาสงสาร ภาพวีดทิ ศั น์บางตอนอาจต้องการให้
คนดูรสู้ กึ ถึงความยิง่ ใหญ่ตระการนัน้ ๆ จึงจะทาให้ภาพวีดทิ ศั น์
สามารถบอกทัง้ เนื้อหาและอารมณ์แก่คนดูได้พร้อมๆ กันอย่างมี
ประสิทธิภาพ
การประกอบภาพในภาพวีดทิ ศั น์


จะต้องอาศัยความรูพ้ น้ื ฐานทางศิลปะทัวไปเช่
่
นเดียวกับการ
ประกอบภาพสาหรับการถ่ายภาพหรือภาพเขียน โดยจะต้องมีความ
เข้าใจเกีย่ วกับองค์ประกอบทางศิลปะ เช่น ความสมดุล รูปทรง
มวล จังหวะ ระยะเส้น การเคลื่อนไหว ความงามและความ
กลมกลืนของสี แต่เนื่องจากภาพวีดทิ ศั น์มกี ารเคลื่อนไหวอยู่
ตลอดเวลาดังได้กล่าวไว้แล้ว การประกอบภาพของภาพวีดทิ ศั น์
จะต้องให้ความสาคัญในเรือ่ งของเส้น รูปทรง มวลและการ
เคลื่อนไหวเป็ นพิเศษ
การประกอบภาพของภาพวีดทิ ศั น์

เส้น รูปทรง มวลและการเคลื่อนไหว อาจเรียกได้วา่ เป็ นภาษาทีใ่ ช้
สาหรับการประกอบภาพในภาพวีดทิ ศั น์ เพราะการจัดวาง
องค์ประกอบภาพทัง้ 4 นี้ อย่างถูกต้องจะก่อให้เกิดเป็ น
ภาพเคลื่อนไหวบนจอทีส่ ามารถสือ่ อารมณ์และเรือ่ งราวได้ตาม
ต้องการ
เส้น


ของทุกสิง่ ทุกอย่างทีเ่ ราเห็นอยูร่ อบตัวทัวๆ
่ ไปจะประกอบด้วยเส้นต่างๆ
มากมาย ไม่วา่ จะเป็ นเส้นตรง เส้นโค้ง เส้นแนวตัง้ เส้นแนวนอน หรือ
เส้นหยักในรูปแบบและทิศทางต่างๆ กัน นอกจากนัน้ รูปร่างของสิง่ ต่างๆ ยัง
เกิดขึน้ จากเส้นทีต่ ่อเนื่องล้อมรอบติดกันอีกด้วย
เส้นเป็ นองค์ประกอบศิลปะทีส่ าคัญทีใ่ ช้ในการประกอบภาพในภาพวีดิ
ทัศน์ เส้นแต่ละประเภทจะให้ความรูส้ กึ แก่คนดูแตกต่างกันออกไป เราสามารถ
นาเอาเส้นในลักษณะต่างๆ มาใช้ในการประกอบภาพเพือ่ ให้ภาพนัน้ สือ่ อารมณ์
และความหมายตามทีต่ อ้ งการได้ ด้วยการพิจารณาถึงความรูส้ กึ ทีเ่ ส้นเหล่านัน้
สร้างให้แก่คนดู
เส้นต่างๆ บอกความหมาย

ในการใช้เส้นต่างๆ บอกความหมายแก่คนดูนนั ้ บางครัง้ เราก็
สามารถใช้เส้นทีเ่ ลียนแบบธรรมชาติได้ เช่น เลียนแบบสายฟ้าเป็ น
หยักตามแนวทแยงให้ความรูส้ กึ เคลื่อนทีแ่ ละรุนแรง เส้นตรงเหมือน
สายฝนหรือหิมะทีร่ ว่ งเป็ นเส้นตามแนวตัง้ ทีน่ ุ่มนวล ให้ความรูส้ กึ สงบ
และมันคง
่ ส่วนเส้นคดโค้งเหมือนแม่น้าหรือลาธารทีไ่ หลวกวนเป็ น
เส้นคดโค้ง ให้ความรูส้ กึ อ่อนไหวและอ่อนโยน
เส้นแบ่งภาพ

ตามหลักของการประกอบภาพทัวๆ
่ ไปจะต้องพยายามไม่ให้มเี ส้นแบ่งภาพ
ออกเป็ นสองส่วนเท่าๆ กัน ดังนัน้ เส้นใดๆ ก็ตาม ทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอน
ไม่ควรอยูก่ ลางภาพพอดี ยกตัวอย่างเช่น ไม่ควรประกอบให้มเี สาไฟอยูก่ ลาง
ภาพ เพราะเสาไฟแยกภาพออกเป็ นส่วนซ้ายและขวาเท่าๆ กัน หรือไม่ควร
วางเส้นขอบฟ้าไว้กลางภาพ เพราะเส้นของฟ้าจะแบ่งภาพออกเป็ นสองส่วน
ตามแนวนอนหรือไม่ควรวางภูเขาให้เส้นสันเขาแบ่งภาพออกตามแนวเฉียง
เส้นทะแยง

เมือ่ ผูด้ กู วาดสายตาเป็ นเส้นตรงในแนวทแยงตามทิศทางการเคลื่อนทีข่ อง
เครือ่ งบินทีพ่ งุ่ ทะยานขึน้ สูท่ อ้ งฟ้า เส้นตรงในแนวทแยงนี้คอื เส้นจินตนาการที่
บังคับให้ผดู้ มู องตามภาพในทิศทางดังกล่าวทัง้ ทีไ่ ม่มเี ส้นอยูจ่ ริง หรือถ้าตัว
แสดงชีม้ อื ไปทีต่ าแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งในภาพ เมือ่ ภาพนี้ปรากฏบนจอผูด้ จู ะ
มองทีใ่ บหน้าตัวแสดง เพราะเป็ นจุดเด่นทีส่ ดุ ต่อจากนัน้ สายตาของผูด้ กู จ็ ะ
มองไปตามมือของตัวแสดง
เส้นสายตาทีก่ วาดจากใบหน้าตัวแสดง
ไปยังจุดทีต่ วั แสดงชีน้ ้ีคอื เส้นจินตนาการ
รูปทรง

รูปทรง เป็ นองค์ประกอบทางศิลปะทีม่ คี วามสาคัญอีก
องค์ประกอบหนึ่ง การประกอบภาพในภาพวีดทิ ศั น์จะต้องพิจารณา
ทัง้ รูปทรงจริง ทีม่ องเห็นเป็ นตัวตนจริงๆ ซึง่ หมายถึงรูปทรง
ภายนอกของสิง่ ต่างๆ ทีเ่ รามองเห็นด้วยตา และรูปทรงจินตนาการ
ซึง่ หมายถึงรูปทรงทีเ่ กิดขึน้ ในจินตนาการของผูด้ ดู ว้ ย
รูปทรงทีป่ รากฏให้เห็นเป็ นตัวตนจริงๆ

เกิดจากเส้นจริงซึง่ เป็ นรอบนอกของรูปทรงจริงนัน้ ส่วนรูปทรงใน
จินตนาการก็คอื รูปทรงทีเ่ กิดจากเส้นจินตนาการซึง่ นาสายตาของผูด้ ู
เคลื่อนทีจ่ ากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ทาให้เกิดรูปทรงในจินตนาการ
ของผูด้ ขู น้ึ รูปทรงในจินตนาการนี้จงึ มองเห็นได้ยากกว่ารูปทรงทีเ่ ป็ น
จริง แต่จะกระทบความรูส้ กึ ของผูด้ ไู ม่น้อยกว่ารูปทรงจริง
รูปทรงทีไ่ ม่มตี วั ตน

เกิดจากการจัดวางสิง่ ต่างๆ ในภาพ เมือ่ ผูด้ ดู ภู าพบนจอ สายตาทีก่ วาดจากตัวแสดง
ด้านหนึ่งไปยังตัวแสดงตัวอื่นๆ อาจจะก่อให้เกิดรูปทรงต่างๆ ขึน้ เช่น ในฉากๆ หนึ่งมีตวั
แสดงอยู่ 3 ตัว ตัวแสดงแต่ละตัวจะมีรปู ทรงของตนเอง เช่น คนหนึ่งอาจจะสูงหรืออีกคน
อาจจะเตีย้ อีกคนอาจจะเป็ นเด็กตัวเล็ก ซึง่ รูปทรงทีก่ ล่าวนี้เป็ นรูปทรงจริงของสิง่ ทีป่ รากฏ
อยูใ่ นฉากทีเ่ ราสามารถมองเห็นได้ทนั ที ในการประกอบภาพนี้ หากเราให้ตวั แสดงคนสูงยืน
อยูต่ รงกลางแล้วให้ตวั แสดงคนเตีย้ และเด็กยืนอยูด่ า้ นข้างทัง้ สองด้าน เมือ่ ผูด้ กู วาดสายตา
มองตัวแสดงทัง้ สามตัวนี้ จะทาให้เกิดรูปทรงสามเหลีย่ มขึน้ รูปทรงสามเหลีย่ มนี้เองทีเ่ ป็ น
รูปทรงในจินตนาการ
พิจารณารูปทรงจินตนาการ

ในการประกอบภาพทุกครัง้ จะต้องพิจารณาถึงรูปทรงจินตนาการเสมอ
เพราะการจัดวางตัวแสดง สิง่ ประกอบฉาก และการกาหนดการ
เคลื่อนไหว จะต้องให้ภาพมีความกลมกลืนและเกิดเส้นจินตนาการที่
นาสายตาผูด้ ไู ปยังจุดต่างๆ ในภาพ เพือ่ ให้เกิดรูปทรงทีไ่ ด้อารมณ์
และเกิดความสุนทรียแก่ภาพนัน้
รูปทรงสามเหลีย่ ม

ทีฐ่ านอยูด่ า้ นล่างจะให้ความรูส้ กึ แข็งแรง มันคง
่ และยังเป็ นรูปทรงที่
ควบคุมสายตาให้อยูภ่ ายในรูปทรงนี้ดว้ ย รูปทรงสามเหลีย่ มทีต่ บี
แคบในแนวตัง้ จะให้ความรูส้ กึ แข็งแรงมันคงน้
่ อยกว่ารูปทรง
สามเหลีย่ มทีเ่ ตีย้ และมีฐานกว้างซึง่ มีลกั ษณะคล้ายขุนเขาทีแ่ ข็งแรง
รูปทรงสามเหลีย่ มทีก่ ลับหัว

ส่วนรูปทรงสามเหลีย่ มทีก่ ลับหัวเอาปลายแหลมลงด้านล่างนัน้
สามารถนามาใช้ในการประกอบภาพได้เช่นกัน แม้วา่ จะดูวา่ ขาด
ความรูส้ กึ มันคงไปก็
่
ตาม เช่น การประกอบภาพให้เด็กอยูต่ รงกลาง
และผูใ้ หญ่สองคนอยูใ่ นตาแหน่งทีส่ งู กว่าทัง้ สองข้าง ซึง่ ความรูส้ กึ ที่
ขาดความมันคงนี
่ ้สอดคล้องกับอารมณ์ของภาพวีดทิ ศั น์ หากฉากนัน้
เป็ นฉากทีเ่ ด็กตัวเล็กๆ กาลังถูกอาชญากรข่มขูอ่ ยู่
รูปทรงกลมหรือรูปไข่

รูปทรงกลมหรือรูปไข่จะผูกเอาสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาพไว้ดว้ ยกัน และจะดึง
ความสนใจของคนดูไม่ให้ออกนอกกรอบของรูปทรงดังกล่าว เช่น
ฉากรับประทานอาหารของครอบครัวทีน่ งล้
ั ่ อมโต๊ะอาหารรูปทรงกลม
รูปทรงกากบาท

รูปทรงกากบาทก็สามารถนามาใช้ประกอบภาพเพือ่ ดึงสายตาของคนดูมาที่
จุดตัด เช่น พระเอกของเรือ่ งถูกทหารสีค่ นใช้ปืนจีจ้ ากสีด่ า้ น นอกจากนัน้ รูป
กากบาทอาจให้ความรูส้ กึ ของความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน และบ่งบอกถึง
ความมีพลังอานาจอันน่าเกรงขาม และยังอาจใช้เป็ นสัญลักษณ์ของความ
ยิง่ ใหญ่ได้อกี ด้วย เช่น การจัดกองไฟบูชายันต์ไว้กลาง และให้ขบวนแห่หรือ
แถวของบริวารเคลื่อนทีเ่ ป็ นรูปทรงของกากบาทพุง่ ตรงมาทีก่ องไฟตรงกลาง
รูปทรงรัศมี

รูปทรงรัศมี มีลกั ษณะคล้ายๆ รูปทรงกากบาทแต่มแี ขนมากกว่าสี่ รูปทรงรัศมี
มีอยูใ่ นธรรมชาติมากมาย เช่น ดอกไม้ กิง่ ไม้ ดวงอาทิตย์ รูปทรงนี้ให้
ความรูส้ กึ ขยายกว้างออกและดึงดูดความสนใจมาทีจ่ ุดกึง่ กลาง ถ้ารัศมีนนั ้
หมุนรอบจุดกึง่ กลางก็จะให้ความรูส้ กึ ของความมีชวี ติ ให้บรรยากาศของความร่า
เริงสนุกสนานไปทัว่ เช่น การจับระบาราฟ้อน ภาพรัศมีน้ีควรวางจุดสนใจของ
ภาพไว้ใกล้จุดศูนย์กลางของรัศมี
รูปทรงตัวแอล

รูปทรงตัวแอลจะให้ความรูส้ กึ ผ่อนคลายตามสบาย ไม่เป็ นการเป็ นงานและการ
ประกอบภาพในรูปทรงนี้คอ่ นข้างง่ายและดัดแปลงได้ไม่ยาก รูปตัวแอลมี
ประโยชน์มากในการประกอบภาพทิวทัศน์และภาพกว้างๆ ทัวๆ
่ ไป เช่น ตัว
แสดงและเงาทีท่ าบลงบนพืน้ ประกอบกันเป็ นรูปทรงแอล หรือภาพตึกทีต่ งั ้ อยู่
บนมุมหนึ่งของถนน ภาพต้นไม้กบั ลานดิน ภาพเหล่านี้มกี ารประกอบภาพเป็ น
รูปตัวแอลทัง้ สิน้ ซึง่ จะเห็นได้วา่ ฐานของ
รูปทรงแอลให้ความรูส้ กึ พักผ่อน สงบ สบายตา
ส่วนตัง้ ของตัวแอลให้ความรูส้ กึ สง่างาม
มวล

ส่วนคาว่ามวลนัน้ อาจหมายถึงตัวแสดงหรือวัตถุสงิ่ ของจานวนเดียว เช่น
รถยนต์คนั หนึ่ง ภูเขาลูกหนึ่ง ตูใ้ บหนึ่ง คนคนหนึ่ง หนังสือเล่มหนึ่งหรืออาจ
หมายถึงตัวแสดงหรือของจานวนมากกว่าหนึ่งทีร่ วมกันเข้าเป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกันหรือเป็ นหน่วยเดียวกันในการประกอบภาพ เช่น กลุม่ คน หมูบ่ า้ น
กองเครือ่ งมือก่อสร้าง ฝูงวัวควาย มวลจึงมีความหมายในทางน้าหนักของสิง่ ที่
ปรากฏในภาพ ซึง่ เรียกกันว่าน้าหนักภาพ
และมวลจะสามารถจับอารมณ์และ
ความสนใจของผูด้ ไู ด้ดว้ ยน้าหนัก
ทีป่ รากฏอยูใ่ นภาพนัน้ ๆ
เส้นและรูปทรง

เส้นและรูปทรงสามารถแสดงความเด่นของตัวเองให้ปรากฏในภาพได้
ด้วยความงามหรือคุณค่าทางด้านอารมณ์ความรูส้ กึ ทีเ่ ส้นหรือรูปทรง
นัน้ ให้แก่ผดู้ ู ซึง่ หมายความว่า ผูด้ อู าจจะเกิดความประทับใจเพราะ
ความงดงามของเส้นสายหรือรูปทรงนัน้ เอง หรืออาจจะประทับใจ
เพราะอารมณ์ทไ่ี ด้จากการดูภาพทีป่ ระกอบด้วยเส้นสายหรือรูปทรง
เหล่านัน้ แต่ความงดงามหรือความเด่นของมวลจะต้องพิจารณา
หลายๆ ด้าน ดังต่อไปนี้
ความโดดเด่นทีแ่ ยกห่างออกจากส่วนอื่นๆ


ของภาพจะทาให้มวลเด่นและมีน้าหนักขึน้
การรวมตัวกันของสิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ นภาพให้เกิดเป็ นมวลทีม่ คี วามเป็ น
อันหนึ่งอันเดียวกัน จะทาให้มวลมีความสาคัญขึน้ กลุม่ คนทีย่ นื เกาะกลุม่ กันจึง
มีน้าหนักมากกว่าคนทีย่ นื กระจัดกระจาย ดังนัน้ จึงไม่ควรประกอบภาพโดย
ปล่อยให้มสี งิ่ ต่างๆ กระจัดกระจายทัวไปในภาพ
่
เพราะทาให้ภาพดูรกรุงรัง
ขาดจุดสนใจ
สีทต่ี ดั กัน
สีทต่ี ดั กันจะทาให้มวลทีม่ สี แี ตกต่างจากส่วนอื่นๆ เด่นขึน้
 มวลทีส
่ เี ข้มจะเด่นเมือ่ อยูห่ น้าฉากหลังสีอ่อน และในทางตรงกันข้าม
มวลสีอ่อนก็จะดูเด่นขึน้ เมือ่ อยูฉ่ ากหลังสีเข้ม การกาหนดให้สตี ดั กัน
ระหว่างมวลและฉากหลังแตกต่างกันเช่นนี้เป็ นวิธเี น้นหรือดึงเอาตัว
แสดงหรือซับเจ็คให้เด่นออกมาจากฉากหลังทีง่ า่ ยทีส่ ดุ

ขนาดทีใ่ หญ่




ขนาดทีใ่ หญ่จะเสริมให้มวลมีน้าหนักและเด่น
มวลทีม่ ขี นาดใหญ่จะเด่นกว่ามวลทีม่ ขี นาดเล็กกว่าอย่างแน่นอน และหากมวล
นัน้ มีลกั ษณะอื่นๆ เหมือนกันเราสามารถใช้เทคนิคเพิม่ ขนาดของมวลได้โดยการ
วางมวลให้ถกู ที่ เลือกมุมกล้องและเลือกใช้เลนส์ทเ่ี หมาะสม เช่น ถ้าต้องการ
ให้ซบั เจ็คใดมีขนาดใหญ่กค็ วรให้ซบั เจ็คนัน้ อยูใ่ กล้กล้อง และการใช้เลนส์มมุ
กว้างจะทาให้สงิ่ ทีอ่ ยูใ่ กล้เลนส์
มีขนาดใหญ่กว่าสิง่ ทีอ่ ยูห่ า่ งเลนส์
ออกไปมาก
ความมันคงไม่
่
สนไหว
ั่

ความมันคงไม่
่
สนไหวหรื
ั่
อคลอนแคลนก็มสี ว่ นเพิม่ ความเด่นและ
น้าหนักของมวล
การรวมตัวกันของมวล
การรวมตัวกันของมวล ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันไม่แตกแยก
กระจัดกระจายทาให้มวลมีน้าหนักมากขึน้
 มวลทีร่ วมตัวกันโดยไม่มสี ว่ นหนึ่งส่วนใดยืน
่ ออกส่วนขอบไม่ขรุขระ
หรือโปง่ ออกจะมีความเด่น เพราะมวลมีความเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน

แสงทีส่ ว่าง
แสงทีส่ ว่างชัดเจนทาให้มวลเด่น
 มวลทีท
่ อประกายแสงจะเด่นกว่าส่วนอื่นๆ ของภาพ โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ ถ้ามวลทีท่ อแสงนัน้ อยูห่ น้าฉากหลังทีม่ สี เี ข้ม เพราะจะยิง่ ทาให้
เห็นมวลนัน้ ชัดเจนเด่นขึน้ ยกตัวอย่างเช่น ไฟปา่ ทีล่ ุกโชติชว่ ง
ลาแสงสะท้อนของดวงอาทิตย์จากปลายยอดโบสถ์ พลุ ประกายแดด
ทีต่ กกระทบน้า

สีสนั ทีส่ ดใส
สีสนั ทีส่ ดใสช่วยให้มวลดูเด่นและมีน้าหนัก

มวลทีม่ สี สี ดใสจะเด่นกว่าส่วนอื่นของภาพทีม่ สี หี ม่นหมองกว่า
ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนี้เป็ นวิธกี ารให้ความสาคัญแก่มวล จะเห็นได้วา่
เรามีวธิ สี ร้างความเด่นให้แก่ซบั เจ็คทีส่ าคัญมากมายหลายวิธี ผู้
ประกอบภาพทีพ่ ถิ พี ถิ นั จึงสามารถควบคุมความงดงาม ตลอดจน
ความหมายและอารมณ์ของภาพได้
โดยควบคุมซับเจ็คหรือมวลให้
อยูใ่ นลักษณะทีต่ อ้ งการ

การเคลื่อนไหว

การประกอบภาพโดยคานึงถึงการเคลื่อนไหวนัน้ ถือได้ว่าเป็ น
หัวใจสาคัญทีส่ ดุ สาหรับการถ่ายทาภาพวีดทิ ศั น์ เพราะภาพวีดทิ ศั น์
สามารถสือ่ ให้ผดู้ รู สู้ กึ ถึงการเคลื่อนไหวและในขณะเดียวกันยัง
สามารถแสดงการเคลื่อนไหวให้ประจักษ์ต่อสายตาผูด้ ไู ปพร้อมกัน
การเคลื่อนไหวในแนวนอน

จะบ่งบอกถึงการเดินทางและพลังของการเคลื่อนไหว นอกจากนัน้ เราควรรูว้ า่
การเคลื่อนทีจ่ ากซ้ายไปขวาจะง่ายแก่การติดตามดู เพราะเป็ นการเคลื่อนทีท่ ด่ี ู
เป็ นธรรมชาติและราบรืน่ กว่าการเคลื่อนทีจ่ ากขวาไปซ้าย ทีเ่ ป็ นเช่นนี้เพราะผูด้ ู
ส่วนใหญ่เคยชินกับการอ่านหนังสือจากซ้ายไปขวา การมองตามการเคลื่อนที่
จากซ้ายไปขวาจึงไม่ตอ้ งใช้ความพยายามฝืนธรรมชาติ แต่เนื่องจากการ
เคลื่อนทีจ่ ากขวาไปซ้ายนัน้ ขัดธรรมชาติจงึ ทาให้การเคลื่อนทีใ่ นทิศทางนี้ดมู ี
พลังมากกว่า
การเคลื่อนไหวในแนวนอน

ด้วยเหตุทก่ี ารเคลื่อนทีจ่ ากซ้ายไปขวาราบรืน่ กว่าจึงควรใช้ใน
กรณีทต่ี ดิ ตามการแสดงทีส่ บายๆ เช่น การแพนให้เห็นทิวทัศน์ใน
ภาพวีดทิ ศั น์ทอ่ งเทีย่ วควรแพนจากซ้ายไปขวา ส่วนการเคลื่อนทีจ่ าก
ขวาไปซ้ายนัน้ ควรเลือกใช้เมือ่ ต้องการแสดงให้เห็นความขัดแย้งหรือ
ต้องการเน้นการเคลื่อนทีน่ นั ้ เช่น พระเอกจูโ่ จมเข้าหาผูร้ า้ ย
การเคลื่อนที่สงู ขึน้ ในแนวตัง้
แสดงความทะเยอทะยาน การยกยอ ความปิตยิ นิ ดี ความ
เจริญเติบโต และการถูกปลดปล่อย และเนื่องจากการเคลื่อนทีใ่ น
แนวตัง้ ขึน้ ให้ความรูส้ กึ สูงสง่าจึงอาจใช้ในเรือ่ งทีเ่ กี่ยวข้องกับทาง
ศาสนา นอกจากนัน้ ความรูส้ กึ สบาย อิสระ ความสุข ความร่าเริง
ก็สามารถแสดงด้วยการเคลื่อนไหวใน
 ลักษณะนี้ เช่น ตัวแสดงกระโดด
 ตัวลอยแสดงอาการลิงโลดดีใจ

การเคลื่อนไหวลงในแนวดิ่ง

ในทางตรงกันข้ามการเคลื่อนไหวลงในแนวดิ่ง แสดงน้าหนัก อันตราย
พลังของการชน กระแทกหรือบีบคัน้ เช่น การไหลลงของน้าตก ดังนัน้
การบันทึกภาพเรือที่ล่องไปตามแก่งที่อนั ตราย ควรประกอบภาพให้มี
การเคลื่อนไหวไปในแนวดิ่งเหมือนเรือพุ่งมาจากด้านบนจะให้ความรู้สึก
ที่หวาดเสียวได้ดี นอกจากนัน้ การเคลื่อนไหวในลักษณะนี้ ยงั ให้
ความรู้สึกเศร้า ใกล้อนั ตรายความตายและความหายนะได้ด้วย
การเคลื่อนไหวในแนวเฉี ยง



การเคลื่อนไหวในแนวเฉี ยง มีพลังมากทีส่ ดุ จะแสดงถึงการต่อต้านความ
แข็งกร้าว ความตึงเครียด อานาจและการข่มขูเ่ อาชนะด้วยพลังอานาจ เช่น
การเคลื่อนพลเข้าหากันในฉากรบ การเคลื่อนไหวในแนวเฉียงนี้สามารถใช้ใน
ภาพทีไ่ ม่มกี ารเคลื่อนทีจ่ ริง แต่ใช้มมุ กล้องทีเ่ อียงเพือ่ สร้างเส้นแนวเฉียงจาก
ั ้ ง้ เอียง ตัวแสดงยืนเอียง ทัง้ นี้
รูปทรงของซับเจ็คเอง เช่น ตึกเอียง รูปปนตั
เพือ่ สร้างอารมณ์บางอย่างให้รนุ แรงขึน้
นอกจากนัน้ เส้นเฉียงทีพ่ งุ่ ขึน้ ทางขวาแสดงถึงการเคลื่อนทีส่ งู ขึน้ เช่น
การปีนเขา ควรให้ทศิ ทางการปีนเฉียงขึน้ ทางขวา ส่วนเส้นเฉียงทีพ่ ุง่ ลง
ทางขวาแสดงถึงการเคลื่อนทีต่ ่าลง เช่น ของกลิง้ ตกลงข้างล่าง
สาหรับเส้นเฉียงทีห่ ยักเหมือเส้นสายฟ้าจะให้ความรูส้ กึ รวดเร็วและน่ากลัว
เส้นเฉียงทีต่ ดั กันแสดงความต่อต้าน พลังตรงข้ามกัน ยกตัวอย่างเช่น ดาบที่
ฟาดฟนั กันในสนามรบ
สาหรับการเคลื่อนไหวเป็ นเส้นคดโค้ง

สาหรับการเคลื่อนไหวเป็ นเส้นคดโค้ง ให้ความรูส้ กึ ของความน่า
กลัวหรือนาไปสูอ่ นั ตราย เช่น งูทเ่ี ลือ้ ยคดเคีย้ วไปมา แต่การ
เคลื่อนทีเ่ ป็ นวงกลมหรือหมุนไปรอบๆ จะให้ความรูส้ กึ ชื่นบาน เช่น
การเต้นระบา นอกจากนัน้ การเคลื่อนทีเ่ ป็ นวงกลมอาจจะแสดงถึง
พลังเครือ่ งจักรกล เช่น วงล้อของเครือ่ งจักรในโรงงานทีก่ าลังทางาน
ล้อรถยนต์ทก่ี าลังแล่นบนถนน
การเคลื่อนไหวกลับไปกลับมา

การเคลื่อนไหวกลับไปกลับมา แสดงความซ้าซาก ความบึกบึน
ทรหด เช่น ในฉากคุก ถ้าให้คนคุกเดินกลับไปกลับมาจะให้
ความรูส้ กึ อึดอัดน่าเบื่อกว่านังอยู
่ เ่ ฉยๆ
การเคลื่อนที่เป็ นขัน้ ๆ

ส่วนการเคลื่อนที่เป็ นขัน้ ๆ ลงมาทาให้เกิดความรูส้ กึ สดชื่น
สนุกสนาน และให้ความรูส้ กึ บางเบาและกระดอนเหมือนลูกบอลที่
โยนลงมา เช่น เด็กน้อยทีร่ า่ เริงกระโดดก้าวโหย่งเป็ นจังหวะ
การเคลื่อนไหวที่กระจายออกจากจุดศูนย์กลาง

การเคลื่อนไหวที่กระจายออกจากจุดศูนย์กลาง เช่น ละลอกน้า
ทีเ่ กิดจากการโยนก้อนหินลงในบ่ออาจจะแสดงถึงพลัง หรืออาจแสดง
ถึงการเติบโตจากตรงกลางออกรอบด้าน นอกจากนัน้ การเคลื่อนที่
จากจุดศูนย์กลางอาจแสดงถึงความตื่นตระหนก เช่น การจลาจลของ
ฝูงขนทีแ่ ตกฮือจาก
ศูนย์กลางภาพ
การเคลื่อนที่หยุดๆ ไม่ต่อเนื่ อง

ข้อสังเกตอีกประการ คือ การเคลื่อนที่หยุดๆ ไม่ต่อเนื่ อง หรือ
การเคลื่อนที่ที่เปลี่ยนทิศทาง จะสามารถดึงความสนใจของผูด้ ไู ด้
ดีกว่าการเคลื่อนทีท่ ส่ี ม่าเสมอและไปในทิศทางเดียวกันตลอดเวลา
การเคลื่อนที่เข้าหาผูด้ จู ะ

ส่วนการเคลื่อนที่เข้าหาผูด้ จู ะทาให้ซบั เจ็คมีขนาดใหญ่ขน้ึ และจะ
น่าสนใจกว่าการเคลื่อนทีอ่ อกห่างจากผูด้ ทู ซ่ี บั เจ็คจะมีขนาดเล็กลง
ความสมดุลย์

ความสมดุลย์เป็ นภาวะทีท่ าทุกสิง่ ทุกอย่างอยูใ่ นสภาพคงทีพ่ อดี
ให้ความรูส้ กึ มันคงและสวยงาม
่
ภาพทีม่ คี วามสมดุลนัน้ เมือ่ ดูแล้วจะ
มีความน่าสนใจเพราะไม่มอี ะไรเหลื่อมล้าหรือโดดเด่นออกมาจนดูเป็ น
ส่วนเกินของภาพ องค์ประกอบทุกอย่างในภาพจะมีลกั ษณะลงตัว มี
น้าหนักถ่วงกันพอดี ภาพทีจ่ ดั องค์ประกอบอย่างสมดุลจะทาให้ผดู้ ู
ยอมรับโดยไม่รสู้ กึ ขัดเขิน เพราะทุกอย่างในภาพผสมผสานกันอย่าง
กลมกลืน ไม่มอี ะไรขาด ไม่มอี ะไรเกิน
การประกอบภาพให้เกิดความสมดุล


ในภาพวีดทิ ศั น์คอ่ นข้างจะซับซ้อน เพราะมีความเคลื่อนไหวเข้ามาเกี่ยวข้อง
ทัง้ การเคลื่อนไหวของตัวแสดงหรือสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาพเอง และการเคลื่อนไหวของ
กล้อง เราจะต้องรักษาความสมดุลให้มอี ยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ ภาพนัน้ จะมีกา
เคลื่อนไหวของอะไรเกิดขึน้ ก็ตาม
ในการพิจารณาความสมดุลของภาพ จะต้องคานึงถึงนัน้ หนักของภาพทีม่ ี
ผลต่อความรูส้ กึ และน้าหนักของภาพทางด้านความรูส้ กึ นี้จะอยู่ภายใต้อทิ ธิพล
ของความเด่นสะดุดตาของสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาพ สิง่ ใดเด่นสะดุดตา สิง่ นัน้ จะมี
น้าหนักภาพมาก ซึง่ การทีส่ งิ่ ใดหรือซับเจ็คใดจะมีความเด่นสะดุดตามากน้อย
แค่ไหนนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะสาคัญ 8 ประการของซับเจ็ค ซึง่ เคยกล่าวถึง
บ้างแล้วในหัวเรือ่ งมวล คือ
1. ขนาด

ซับเจ็คทีม่ ขี นาดใหญ่ยอ่ มมีความเด่นสะดุดตามากกว่าซับเจ็คทีม่ ี
ขนาดเล็ก เพราะครอบครองเนื้อทีใ่ นกรอบภาพมากกว่า ซับเจ็ค
ขนาดใหญ่จงึ มีน้าหนักภาพมากกว่าซับเจ็คขนาดเล็ก
2. รูปร่าง

ซับเจ็คทีม่ รี ปู ร่างปกติจะดูมนี ้าหนักมากกว่าซับเจ็คที่มรี ปู ร่างผิดปกติไป
เช่น คนทีม่ รี า่ งกายแข็งแรง สมส่วน จะมีน้าหนักภาพมากกว่าคนทีม่ รี ปู ร่าง
พิการ หรือต้นไม้ทม่ี รี ปู ทรงสมบูรณ์จะมีน้าหนักภาพมากกว่าต้นไม้ทค่ี ดงอ แต่
ซับเจ็คทีม่ รี ปู ร่างแปลกและซับซ้อนจะมีน้าหนักมากกว่าซับเจ็ครูปร่างธรรมดา
เพราะซับเจ็คทีม่ รี ปู ร่างแปลกหรือประณีตซับซ้อนมีรายละเอียดทีจ่ ะเรียกร้อง
ความสนใจได้ดกี ว่า
3. สี

สีรอ้ น เช่น สีแดงจะมีน้าหนักมากกว่าสีเย็น เช่น สีน้าเงิน
และสีสดใสจะมีน้าหนักมากกว่าสีทมึ ทึบเสมอ เพราะดึงดูดสายตาได้
ดีกว่า
4. ความเข้มของสี

ซับเจ็คทีส่ ว่างหรือทีม่ สี อี ่อนจะมีน้าหนักมากกว่าซับเจ็คทีม่ ดื และซับเจ็ค
ทีส่ สี ว่างหรือมีสอี ่อนนัน้ จะดูเหมือนเข้าไปใกล้ผดู้ ู ในขณะทีซ่ บั เจ็คทีส่ เี ข้มหรือ
มืดจะดูเหมือนถอยห่างจากผูด้ แู ละกลืนหายไปในฉากหลัง ด้วยเหตุน้ี บริเวณ
ทีม่ สี เี ข้มจึงต้องกว้างกว่าบริเวณทีม่ สี อี ่อน จึงจะทาให้บริเวณทัง้ สองมีน้าหนัก
เท่ากัน ซับเจ็คทีม่ ผี วิ เป็ นประกายแวววามจะดูใหญ่กว่าซับเจ็คที่มผี วิ ด้านเพราะ
ประกายทีส่ อ่ งออกมาทาให้
ซับเจ็คนัน้ ดูเหมือนใหญ่ขน้ึ
5. การเคลื่อนไหว

ซับเจ็คทีม่ กี ารเคลื่อนไหวจะสามารถดึงดูดความสนใจผูด้ ไู ด้ดกี ว่า จึงมีน้าหนักภาพ
มากกว่าซับเจ็คทีต่ งั ้ นิ่งอยูก่ บั ที่ ซับเจ็คขนาดใหญ่ทต่ี งั ้ นิ่งอยู่ดา้ นหนึ่งของภาพ จึงอาจจะ
สมดุลกับซับเจ็คทีม่ ขี นาดเล็กทีก่ าลังเคลื่อนทีอ่ ยูด่ า้ นตรงกันข้าม ยกตัวอย่างเช่น ภาพตัว
แสดงเดินเข้าหาบ้านจะมีความสมดุลทางน้าหนักภาพ แม้บา้ นจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวแสดง
มากก็ตาม ทีเ่ ป็ นเช่นนี้เพราะซับเจ็คทัง้ สองมีน้าหนักภาพทางด้านความรูส้ กึ เท่ากัน แม้จะมี
ขนาดไม่เท่ากัน ตัวแสดงทีม่ ี
ขนาดเล็กแต่เคลื่อนทีส่ ามารถ
ดึงความสนใจจากผูด้ ไู ด้เท่าๆ
กับบ้านหลังใหญ่ทต่ี งั ้ นิ่งอยูก่ บั ที่
6. ทิศทางการเคลื่อนไหว

ในเรือ่ งของทิศทางการเคลื่อนไหวนัน้ ซับเจ็คทีเ่ คลื่อนทีเ่ ข้าหา
กล้องจะค่อยๆ มีขนาดใหญ่ขน้ึ และมีความใกล้ชดิ กับผูด้ ูมากขึน้ จึง
มีน้าหนักมากกว่าซับเจ็คทีเ่ คลื่อนทีอ่ อกจากกล้องซึง่ จะค่อยๆ มีขนาด
เล็กลงและค่อยๆ ห่างจากผูด้ อู อกไป
7. ความโดดเด่นจากสิ่งแวดล้อม

ซับเจ็คทีอ่ ยูโ่ ดดเด่นจะมีน้าหนักภาพมากกว่าซับเจ็คทีอ่ ยู่
ท่ามกลางฉากหรือสิง่ แวดล้อมทีร่ กรุงรัง ความโดดเด่นของซับเจ็ค
ทีว่ า่ นี้อาจเนื่องจากตาแหน่งทีต่ งั ้ ห่างไกลจากซับเจ็คอื่น มีสสี ว่างกว่า
สีตดั กันกับส่วนอื่นๆ มีสสี นั สดใน หรือจะเป็ นเพราะเหตุอ่นื ใดก็ตาม
ความโดดเด่นจะทาให้
ซับเจ็คนัน้ มีน้าหนักมาก
ขึน้ เสมอ
8. ตาแหน่ ง

ตาแหน่งทีต่ งั ้ ของซับเจ็คก็มผี ลต่อน้าหนักภาพเช่นกัน ซับเจ็ค
ทีต่ งั ้ อยูใ่ กล้จุดกลางภาพจะมีน้าหนักภาพน้อยกว่าซับเจ็คทีต่ งั ้ อยูร่ มิ
กรอบภาพ เพราะการตัง้ ใกล้จุดกลางภาพนัน้ ทาให้เกิดความสมดุล
ภายในตัว ถ้าเปรียบกับการเล่นของไม้กระดก การนังอยู
่ ใ่ กล้จุด
กลางของไม้กระดา จะไม่ทาให้ไม้กระดกไปในด้านใดทัง้ สิน้ ด้วย
เหตุน้ี เราจึงสามารถขยับซับเจ็คทีม่ นี ้าหนักภาพน้อยให้ไกลจากจุด
กลางภาพได้มากกว่าซับเจ็คทีน่ ้าหนักภาพมาก เพราะซับเจ็คจะมี
น้าหนักมากขึน้ ถ้าวางไว้ขา้ งกรอบภาพดังกล่าวมาแล้ว
ความเด่นของซับเจ็ค


ความเด่นของซับเจ็คจะขึน้ อยูก่ บั ลักษณะสาคัญ 8 ประการดังกล่าว โดย
จะต้องพิจารณาลักษณะต่างๆ ทีป่ ระกอบกันขึน้ มาเป็ นซับเจ็คนัน้ ซับเจ็คใดมี
ลักษณะเด่นหลายลักษณะก็ยงิ่ ทาให้ซบั เจ็คนัน้ เด่นมากขึน้ ไปอีก ดังนัน้
ซับเจ็คทีถ่ งึ แม้มขี นาดเล็กแต่เคลื่อนทีแ่ ละมีความสว่างมากๆ หรือมีสสี นั สดใส
หรือมีสตี ดั กันกับฉากหลังก็จะสามารถดึงดูดสายตาได้มากกว่าซับเจ็คทีม่ ขี นาด
ใหญ่กว่าแต่ตงั ้ อยูก่ บั ที่
ภาพทีม่ คี วามสมดุลย์นนั ้ หมายถึง ภาพทีท่ างด้านซ้ายและด้านขวามี
น้าหนักภาพเท่ากัน ซึง่ การเท่ากันของน้าหนักภาพนี้ขน้ึ อยูก่ บั องค์ประกอบ
หลายอย่างดังได้กล่าวแล้ว โดยไม่จาเป็ นทีส่ งิ่ ทีอ่ ยูใ่ นด้านซ้ายและด้านขวาของ
ภาพจะต้องมีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการเสมอ ด้วยเหตุน้ี จึงทาให้เรา
สามารถแบ่งความสมดุลในการประกอบภาพออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. ความสมดุลสมบูรณ์แบบ(Symmetrical
Balance)

ภาพทีม่ คี วามสมดุลสมบูรณ์แบบหมายถึง ภาพทีม่ นี ้าหนักภาพทัง้ สอง
ด้านของภาพเท่ากันพอดี ผูด้ จู ะไม่ให้ความสนใจแก่ดา้ นใดด้านหนึ่งของภาพ
เป็ นพิเศษ เพราะจะไม่มดี า้ นใดสะดุดตาหรือน่าสนใจกว่าอีกด้านหนึ่ง ด้วยเหตุ
นี้ภาพทีม่ คี วามสมดุลสมบูรณ์แบบจึงเป็ นภาพทีด่ เู รียบๆ ไม่ให้อารมณ์ทร่ี นุ แรง
ไม่มพี ลังของความขัดแย้งหรือความแตกต่างใดๆ เกิดขึน้
การประกอบภาพแบบสมดุลสมบูรณ์

เราควรใช้การประกอบภาพแบบสมดุลสมบูรณ์แบบเมือ่ ต้องการให้
ภาพนัน้ แสดงความรูส้ กึ ทีเ่ งียบสงบ ความวังเวง ความเสมอภาพ
เช่น ภาพทีแ่ สดงความเท่าเทียมกันของสองฝา่ ย ภาพในศาลทีแ่ สดง
ความยุตธิ รรม ภาพภายในโบสถ์ทแ่ี สดงความสงบของจิตใจ ภาพทุง่
นากว้างใหญ่ทแ่ี สดงความร่มรืน่ สบายอารมณ์ แม้แต่ภาพทีต่ อ้ งการ
แสดงความอ่อนแอความพ่ายแพ้ ก็สามารถใช้การประกอบภาพแบบ
นี้เพือ่ สือ่ ความหมายดังกล่าวได้
ตัง้ กล้องเข้าหาซับเจ็คตรงๆ

ตามปกติทวไป
ั ่ การบันทึกภาพเพือ่ ให้เกิดการประกอบภาพทีม่ คี วาม
สมดุลสมบูรณ์แบบมักจะตัง้ กล้องเข้าหาซับเจ็คตรงๆ โดยกล้องไม่ทา
มุมกับซับเจ็ค เพราะการหันกล้องเข้าหาซับเจ็คตรงๆ จะทาให้ซบั เจ็ค
ทัง้ ทีอ่ ยูท่ างซ้ายและทางขวาอยูห่ า่ งจากกล้องเท่าๆ กัน ส่วนประกอบ
ภาพทัง้ สองด้านก็จะมีขนาดไม่ต่างกัน
2. ความสมดุลไม่สมบูรณ์ แบบ(Asymmetrical
Balance)

ภาพทีม่ กี ารประกอบภาพแบบสมดุลไม่สมบูรณ์แบบจะมีลกั ษณะ
ตรงกันข้ามกับภาพทีม่ กี ารประกอบภาพแบบสมดุลสมบูรณ์แบบ คือ
แต่ละด้านของภาพจะมีน้าหนักภาพหรือความน่าสนใจไม่เท่ากัน ซึง่
การประกอบภาพแบบนี้จะทาให้ภาพดูมพี ลังการเคลื่อนทีแ่ ละดูมี
ชีวติ ชีวา เพราะเกิดความรูส้ กึ ขัดแย้งขึน้
องค์ประกอบภาพโดยยึดหลักความสมดุลไม่สมบูรณ์

ตามปกติภาพทีจ่ ดั องค์ประกอบภาพโดยยึดหลักความสมดุลไม่
สมบูรณ์แบบนี้ จะต้องมีซบั เจ็คหลักทีเ่ ป็ นจุดเด่นของภาพอยูเ่ พียง
ตาแหน่งเดียวเท่านัน้ และเพือ่ เพิม่ ความน่าสนใจและรักษาความ
สมดุล ก็ให้มซี บั เจ็คทีส่ องวางไว้อกี ด้านหนึ่งเพือ่ เป็ นการถ่วงน้าหนัก
ของภาพ โดยซับเจ็คทีน่ ามาถ่วงนี้จะต้องมีน้าหนักภาพใกล้เคียงกับ
ซับเจ็คหลัก จึงจะสร้างความสมดุลขึน้ ได้ แต่สงิ่ สาคัญของการ
ประกอบภาพแบบนี้อยูท่ ว่ี า่ ซับเจ็คทีใ่ ช้ถ่วงน้าหนักนัน้ จะต้องมีความ
แตกต่างกับซับเจ็คแรก เช่น อาจจะแตกต่างกันในด้านรูปร่าง ขนาด
สี ความสว่าง การเคลื่อนไหว หรือการอยูน่ ิ่ง ทัง้ นี้ เพือ่ ไม่ให้ภาพ
เกิดความสมดุลสมบูรณ์แบบขึน้
ตัวอย่างการจัดองค์ประกอบภาพแบบสมดุลไม่สมบูรณ์
แบบ

ภาพใกล้ของใบหน้าตัวแสดงเดีย่ ว ภาพประเภทนี้เราจะเห็นใบหน้าของตัว
แสดงเกือบเต็มกรอบภาพ โดยศรีษะของตัวแสดงจะอยูเ่ หนือจุดกลางภาพ
เล็กน้อย และเหลือเนื้อทีว่ า่ งทางด้านหน้าของตัวแสดง ซึง่ เป็ นทิศทางทีส่ ายตา
ของตัวแสดงพุง่ ไป การประกอบภาพเช่นนี้ผดู้ จู ะไม่รสู้ กึ ว่าภาพมีน้าหนักไม่
เท่ากัน แม้วา่ ตัวแสดงจะอยูใ่ นตาแหน่งทีช่ ดิ ไปทางกรอบภาพด้านใดด้านหนึ่ง
เพราะสายตาของตัวแสดงทีพ่ งุ่ มองไปนอกกรอบภาพอีกด้านหนึ่งจะช่วยเพิม่
น้าหนักภาพให้แก่ดา้ นนัน้ ทาให้น้าหนักสมดุลกับด้านทีม่ ศี รี ษะของตัวแสดง
บรรจุอยู่ การประกอบภาพในลักษณะนี้จงึ เป็ นการประกอบภาพแบบสมดุลไม่
สมบูรณ์แบบ เพราะน้าหนักของภาพทัง้ สองด้านไม่ได้เกิดจากซับเจ็คที่
เหมือนกันในภาพทีว่ า่ นี้ สายตาของตัวแสดงดึงเอาน้าหนักของสิง่ ทีอ่ ยูน่ อก
ภาพให้เข้ามามีสว่ นสร้างความสมดุลให้แก่ภาพ
ไม่ควรวางซับเจ็คหลักไว้ในระดับความสูงเดียวกับซับเจ็ค
รอง

โดยทัวไป
่ เราไม่ควรวางซับเจ็คหลักไว้ในระดับความสูงเดียวกับซับเจ็ครอง
แต่ควรจะวางซับเจ็คไว้ให้สงู กว่าหรือต่ากว่าเล็กน้อย และถ้าเป็ นไปได้การวาง
ในตาแหน่งทีส่ งู กว่าจะเหมาะสมกว่า เพราะในตาแหน่งทีส่ งู จะมีน้าหนักภาพ
มากกว่าโดยธรรมชาติ ดังนัน้ ถ้าประกอบภาพตัวแสดงควรวางตัวแสดงหลักไว้
ในตาแหน่งสูงและวางตัวแสดงประกอบไว้ในตาแหน่งทีต่ ่ากว่า เช่น ในกรณีท่ี
ตัวแสดงหลักนังอยู
่ ก่ ค็ วรใช้การจัดแสงเน้นให้ตวั แสดงหลักดูเด่นขึน้ หรือใช้วธิ ี
วางตัวแสดงหลักไว้ทจ่ี ุดสนใจของภาพ คือวางไว้ทต่ี าแหน่งทีจ่ ุดตัดของเส้นที่
แบ่งกรอบภาพออกเป็ นสามส่วน หรือจะให้สายตาของตัวแสดงอื่นเสริม
ความสาคัญของตัวแสดงหลักก็ได้ โดยให้ตวั แสดงอื่นมองมาทีต่ วั แสดงหลัก
จุดสนใจของภาพในภาพวีดิทศั น์

ในการประกอบภาพนัน้ ภาพทุกภาพจะต้องมีความหมาย และ
ทีส่ าคัญจะต้องมีจุดสนใจของภาพ ทีจ่ ะเป็ นตัวชีแ้ นะให้ผดู้ ตู ดิ ตาม
เรือ่ งราวหรือการแสดงในแต่ละชอต ซึง่ ในทีส่ ดุ ชอตต่างๆ นัน้ จะสาน
ต่อกันไปเป็ นภาพวีดทิ ศั น์ทงั ้ เรือ่ งและการประกอบภาพทีด่ จี ะต้องมีจุด
สนใจหรือจุดเด่นเพียงจุดเดียวเท่านัน้ เพราะถ้าหากในภาพมีจุด
สนใจมากกว่าหนึ่ง จุดสนใจเหล่านัน้ จะแข่งขันกันเรียกร้องความ
สนใจจากผูด้ ู ทาให้ภาพบอกความหมายหรือเล่าเรือ่ งไม่ดเี ท่าทีค่ วร
เพราะผูด้ จู ะสับสน ไม่รวู้ า่ ควรให้ความสาคัญแก่จุดไหนของภาพกัน
แน่
ภาพทูชอตทีป่ ระกอบภาพแบบสมดุล

ภาพบางภาพ เช่น ภาพทูชอตทีป่ ระกอบภาพแบบสมดุลแบบอาจจะ
ดูเหมือนว่ามีจุดสนใจอยูส่ องแห่ง แต่ความจริงมิได้เป็ นเช่นนัน้
เพราะในภาพประเภทนี้ตวั แสดงทัง้ สองตัวจะผลัดกันเป็ นจุดสนใจของ
ภาพ เมือ่ ตัวแสดงตัวใดพูดหรือแสดงอากัปกิรยิ า ตัวแสดงตัวนัน้ ก็จะ
เด่นกว่าตัวแสดงอีกตัวทีน่ ิ่งเฉยอยู่ นอกจากนัน้ ยังมีเทคนิคอื่นๆ อีก
มากดังได้กล่าวมาแล้ว ทีส่ ามารถนามาใช้เน้นให้ตวั แสดงใดตัวแสดง
หนึ่งเด่นกว่าตัวแสดงอื่นทีเ่ หลือ เช่น ใช้การจัดแสงหรือการวางมุม
กล้องเพือ่ เน้นความสาคัญของตัวแสดงหนึ่ง เป็ นต้น
ไม่ควรวางจุดสนใจของภาพไว้ทต่ี าแหน่งกลางภาพ
ตามปกติไม่ควรวางจุดสนใจของภาพไว้ทต่ี าแหน่งกลางภาพ จะมี
ภาพบางประเภทเท่านัน้ ทีถ่ อื ว่าเป็ นข้อยกเว้นว่าสามารถวางจุดสนใจ
ไว้กลางภาพได้ ตัวอย่าง ภาพสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ไม้กางเขนหรือ
ภาพทีม่ รี ศั มีกระจายรอบศูนย์กลาง

โดยทัวไป
่ จุดสนใจของภาพควรอยูใ่ นตาแหน่งเอียงไปทางขวา
มือของภาพ แต่อย่างไรก็ตามการประกอบภาพไม่ควรยืดถือ
หลักเกณฑ์ตายตัวเสมอไป เพราะถ้าหากประกอบภาพโดยให้จุดเด่น
ของภาพอยูใ่ นตาแหน่งขวามืออยูต่ ลอดเวลาก็จะทาให้เกิดความ
ซ้าซากจาเจจนน่าเบื่อ

กฎ 3

การวางตาแหน่งจุดสนใจของภาพควรใช้กฎ 3 ส่วนซึง่ เป็ นกฎ
พืน้ ฐานทีใ่ ช้แบ่งกรอบภาพออกเป็ นสามส่วน
การจัดแสงและสีความเข้มของสี

โดยธรรมชาติ ตาของมนุษย์จะให้ความสนใจแก่บริเวณทีส่ ว่าง
บริเวณทีม่ สี อี ่อน และบริเวณทีม่ สี สี นั สดใส จากความจริงในข้อนี้ทา
ให้เราสามารถสร้างความเด่นให้กบั ตัวแสดงได้ดว้ ยการจัดแสงบริเวณ
ตัวแสดงให้สว่างกว่าส่วนอื่นๆ หรือกาหนดให้ตวั แสดงแต่งกายด้วย
เครือ่ งแต่งกายสีอ่อน หรือมีสสี นั สดใสกว่าคนอื่นๆ
การเปลี่ยนตาแหน่ งความชัด


การเปลีย่ นตาแหน่งความสนใจทีง่ า่ ยและมีประสิทธิภาพวิธหี นึ่งก็คอื การ
เปลีย่ นตาแหน่งความชัดหรือโฟกัส ทาให้ตาแหน่งทีเ่ ห็นชัดเจนในภาพเปลีย่ นที่
ไป ถ้าให้เห็นตัวแสดงหรือซับเจ็คใดอยูใ่ นระยะชัด ตัวแสดงหรือซับเจ็คนัน้ จะ
เด่นขึน้ โดยอัตโนมัติ เพราะตามนุษย์จะสนใจในสิง่ ทีเ่ ห็นชัดเจนโดยธรรมชาติ
อยูแ่ ล้ว
วิธกี ารใช้ระยะชัดเปลีย่ นความสนใจของผูด้ นู ้ี จะต้องเริม่ จากการวาง
ตาแหน่งตัวแสดงสองตัวให้หา่ งจากกล้องไม่เท่ากัน แล้วปรับระยะชัดให้ตวั
แสดงแต่ละตัวผลัดกันชัด แม้วา่ เทคนิคนี้จะสามารถบังคับให้ผดู้ ูจะมุง่ ความ
สนใจไปทีต่ วั แสดงทีอ่ ยูใ่ นระยะชัดได้อย่างแน่นอน แต่ไม่ควรใช้เทคนิคนี้บอ่ ยๆ
เพราะความน่าสนใจจะลดลง
การประกอบภาพกับธรรมชาติการมองของผูด้ ภู าพ
วีดิทศั น์

ในขณะทีด่ ภู าพวีดทิ ศั น์นนั ้ ผูด้ จู ะติดตามมองภาพทีเ่ ห็นอยูบ่ น
จอและคาดเดาสิง่ ทีจ่ ะเห็นต่อไปอยูต่ ลอดเวลา ซึง่ การคาดเดานี้ทาให้
ผูด้ มู องหาสิง่ ทีต่ วั เองคาดว่าจะเกิดขึน้ ต่อไป เช่น เมือ่ เห็นตัวแสดง
หันไปมองทางด้านซ้ายของกรอบภาพ ผูด้ ยู อ่ มคาดเดาและรอว่า
จะต้องมีเหตุการณ์หรือการแสดงทีน่ ่าสนใจขึน้ ทางด้านซ้ายของภาพ
ต่อไปอย่างแน่นอน สิง่ นี้เองคือธรรมชาติของการมองของผูด้ ภู าพวีดิ
ทัศน์
การวางมุมกล้องกับการประกอบภาพ

ก่อนลงมือประกอบภาพเราจะต้องทราบก่อนว่าในภาพนัน้ จะตัง้
กล้องถ่ายจากมุมใด ภาพทีจ่ ดั องค์ประกอบไว้ดแี ล้ว หากถ่ายจาก
มุมอื่นอาจจะทาให้ภาพขาดความหมายและความสวยงามได้ เรือ่ งนี้
เป็ นเรือ่ งสาคัญสาหรับการถ่ายทาภาพวีดทิ ศั น์ เพราะเทคนิคของ
ภาพวีดทิ ศั น์เปิดโอกาสให้สามารถเลือกมองเหตุการณ์และการแสดง
ได้ทุกมุม ซึง่ ต่างจากการแสดงบนเวทีทม่ี มี ุมมองเพียงมุมเดียว คือ
ด้านหน้าเวทีในมุมมองของคนนังดู
่ การแสดง ด้วยเหตุน้ีการประกอบ
ภาพสาหรับภาพวีดทิ ศั น์จงึ ต้องพิจารณาถึงมุมมองทีจ่ ะถ่ายในแต่
ละชอตด้วยเสมอ
การประกอบภาพให้ตวั แสดงหรือซับเจ็คหลักอยูใ่ น
ตาแหน่งทีเ่ หมาะสมตลอดเวลา

ทีม่ กี ารเคลื่อนไหวของตัวแสดงและของกล้องเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งใช้ความรอบคอบ
พิถพี ถิ นั และจะต้องมีความชานาญในการประกอบภาพอย่างมาก แต่ตามหลัก
ความเป็ นจริงนัน้ เมือ่ มีการเคลื่อนไหวของตัวแสดงหรือกล้องเกิดขึน้ ความ
สนใจของผูด้ จู ะต้องถูกแบ่งไปทีก่ ารเคลื่อนไหวนัน้ บางส่วนและเมือ่ มีการ
เปลีย่ นแปลงใดๆ เกิดขึน้ บนจอภาพวีดทิ ศั น์ ผูด้ จู ะสนใจกับการเปลีย่ นแปลงนัน้
จนทาให้ลดความสนใจต่อองค์ประกอบของภาพนัน้ ไป ด้วยเหตุน้ีระหว่างทีม่ ี
การเคลื่อนไหวหรือการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ บนจอ ไม่วา่ จะเกิดจากการแสดง
หรือกล้องก็ตาม แม้การประกอบภาพจะไม่ถกู ต้องสวยงามตามหลักการอย่าง
สมบูรณ์กไ็ ม่ทาให้ประสิทธิภาพในการเล่าเรือ่ งหรือการสือ่ ความหมายด้อยลงไป
แต่ควรระลึกเสมอว่าทุกครัง้ ทีภ่ าพหยุดนิ่ง คือ เมือ่ ไม่มกี ารเคลื่อนไหวของตัว
แสดงและกล้อง การประกอบภาพจะต้องสมบูรณ์ทส่ี ดุ เพราะในขณะทีท่ ุกอย่าง
อยูน่ ิ่งผูด้ จู ะให้ความสนใจแก่การประกอบภาพมากขึน้
เคลื่อนกล้องติดตามตัวแสดง

ในระหว่างทีเ่ คลื่อนกล้องติดตามตัวแสดง เพือ่ ให้ภาพมีความสวยงาม
เราจาเป็ นต้องคอยเลีย้ งภาพให้ได้สดั ส่วนอยูเ่ สมอ เช่น ในกรณีท่ี
ติดตามตัวแสดงทีเ่ ดินจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตาแหน่งหนึ่งจะต้อง
เคลื่อนกล้องเลีย้ งให้ภาพเหลือเนื้อทีด่ า้ นหน้าในทิศทางทีต่ วั แสดง
กาลังเดินไปตลอดเวลาทีต่ วั แสดงเดิน

ในภาพทีม่ กี ารเคลื่อนไหวของกล้องหรือตัวแสดงจะต้องมีการซักซ้อม
ให้แน่นอนเพือ่ ทีว่ า่ เมือ่ ตัวแสดงและกล้องหยุดการเคลือ่ นไหว ตัว
แสดงจะต้องอยูใ่ นตาแหน่งทีเ่ หมาะสม เช่น ต้องไม่ให้ตวั แสดงเดิน
เข้ามาหยุดในตาแหน่งทีก่ รอบภาพอยูต่ รงข้อต่อของร่างกายพอดีหรือ
หยุดตรงเส้นกรอบภาพพอดี
เรือ่ งของขนาด

ในเรือ่ งของขนาดนัน้ ผูด้ จู ะทราบขนาดของสิง่ ทีไ่ ม่รจู้ กั หรือไม่คนุ้ เคยด้วยการเปรียบเทียบ
ของสิง่ นัน้ กับสิง่ ทีต่ นเองรูจ้ กั ซึง่ ปรากฎในฉากนัน้ ด้วย เช่น เมือ่ เปรียบเทียบกับขนาดตัว
แสดงทีอ่ ยูใ่ นภาพนัน้ ถ้าไม่มสี งิ่ ทีต่ นเองรูจ้ กั อยูใ่ นภาพ ผูด้ กู จ็ ะประมาณขนาดของสิง่ นัน้
โดยดูความสัมพันธ์ของสิง่ นัน้ กับกรอบภาพ คือ ถ้าหากเห็นสิง่ นัน้ ใหญ่เต็มกรอบภาพก็จะ
ประมาณว่าสิง่ นัน้ มีขนาดใหญ่หรือถ้าหากเห็นว่าสิง่ นัน้ มีขนาดเล็กในกรอบภาพ ก็จะ
ประมาณว่าสิง่ นัน้ มีขนาดเล็ก ซึง่ การประมาณขนาดด้วยวิธนี ้อี าจจะไม่ถกู ต้อง เพราะความ
จริงแล้ว การทีส่ งิ่ นัน้ จะปรากฎบนจอใหญ่หรือเล็กแค่ไหนนัน้ นอกจากจะขึน้ อยูก่ บั ขนาด
ของสิง่ นัน้ เองแล้ว ยังขึน้ อยูก่ บั ระยะห่างระหว่างกล้องถึงสิง่ นัน้ และความยาวโฟกัสของ
เลนส์ทใ่ี ช้บนั ทึกภาพด้วย ดังนัน้ ถ้าหากต้องการให้ผดู้ ทู ราบขนาดของสิง่ ใด ก็จะต้องวาง
สิง่ นัน้ ให้ผดู้ สู ามารถเปรียบเทียบขนาดกับสิง่ ทีผ่ ดู้ รู จู้ กั ดี มิฉะนัน้ ผูด้ อู าจเกิดความสงสัยหรือ
สับสนเรือ่ งขนาดได้
ความลึกของภาพ

ภาพทีเ่ ราเห็นด้วยตาในโลกทีเ่ ป็ นจริงมี 3 มิติ คือ ความสูง
ความกว้างและความลึก แต่ภาพทีเ่ ห็นในภาพวีดทิ ศั น์ทม่ี เี พียง 2
มิติ คือ ความสูงและความกว้าง ดังนัน้ ในการประกอบภาพเพือ่ ให้
ได้อารมณ์และความสวยงามจึงจาเป็ นทีจ่ ะต้องพิจารณาหาทางเพิม่
ความลึกให้แก่ภาพของภาพวีดทิ ศั น์ดว้ ย และการเพิม่ ความลึกให้แก่
ภาพในภาพวีดทิ ศั น์น้ี เราจะต้องรูจ้ กั และเข้าใจความหมายของเปอร์
สเปคตีฟหรือทัศนียภาพเสียก่อน เพราะเปอร์สเปคตีฟจะช่วยสร้าง
ความรูส้ กึ ในทางลึกให้แก่ภาพได้
ประเภทของเปอร์สเปคตีฟ

เปอร์สเปคตีฟ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างซับเจ็คกับสิง่ แวดล้อม
โดยพิจารณาว่าซับเจ็คนัน้ ตัง้ อยูท่ ใ่ี ดและอยูใ่ กล้หรือไกลแค่ไหน เปอร์
สเปคตีฟทีใ่ ช้สร้างความรูส้ กึ ในทางลึกให้แก่ภาพมีอยู่ 2 ประเภท
คือ
1. เปอร์สเปคตีฟที่แสดงด้วยเส้น(Linear Perspective)

จะปรากฏในภาพเป็ นเส้นคูข่ นาดทีป่ ลายค่อยๆ เล็กลงและเส้นทีว่ า่ นี้จะต้องวางทามุม
กับผูด้ ู ยกตัวอย่าง เส้นคูข่ นานของทางรถไฟทีพ่ งุ่ ตรงไปยังเส้นขอบฟ้า ปลายของทาง
รถไฟจะค่อยๆ สอบแคบลง เส้นเหล่านี้จะสร้างภาพลวงตาทีแ่ สดงความลึก ซึง่ จะช่วยให้ผดู้ ู
สามารถคาดคะเนหรือประมาณระยะทางและขนาดของซับเจ็คได้ และความลึกและรูปทรง
ของสิง่ ต่างๆ ในภาพจะเป็ นเช่นไรนัน้ จะขึน้ อยูก่ บั เส้นทีแ่ สดงเปอร์สเปคตีฟเป็ นส่วนใหญ่ ถ้า
เส้นตีบแคบลงมากอย่างรวดเร็ว ก็จะทาให้ดเู หมือนภาพมีความลึกและรูปทรงซับเจ็คมีขนาด
ใหญ่
2. เปอร์สเปคตีฟที่แสดงด้วยชัน้ บรรยากาศ(Aerial
Perspective)

จะปรากฎในภาพให้เห็นสิง่ ทีอ่ ยูไ่ กลออกไปจะค่อยๆ มีสสี นั นุ่ มนวลและ
สว่างขึน้ ตามลาดับ ทีเ่ ป็ นเช่นนี้เพราะมีชนั ้ บรรยากาศเพิม่ ขึน้ เมือ่ ระยะทางไกล
ออกไป ในวันทีอ่ ากาศไม่แจ่มใสมีหมอกปกคลุมจะทาให้ภาพจะดูมคี วามลึก
เพิม่ ขึน้ เพราะหมอกจะทาให้ดา้ นหลังของภาพดูนุ่มนวลและสว่างกว่าปกติ
เหมือนมีชนั ้ บรรยากาศอยูห่ นาเนื่องจากด้านหลังนัน้ อยูไ่ กลออกไปมาก
การเพิ่มเปอร์สเปคตีฟเพื่อสร้างความลึกให้แก่
ภาพ

การสร้างมิตคิ วามลึกให้แก่ภาพในภาพวีดทิ ศั น์ สามารถทาได้
ด้วยการพยายามเพิม่ เปอร์สเปคตีฟทัง้ ทีแ่ สดงโดยเส้นและแสดงโดย
บรรยากาศเข้าไปในภาพซึง่ มีเทคนิคและวิธกี ารอยู่ 5 วิธคี อื
1. การวางมุมกล้อง


เพือ่ ให้ภาพมีความลึก การวางมุมกล้องทุกครัง้ จะต้องพยายามให้กล้อง
ทามุมกับซับเจ็คเสมอ เพราะการตัง้ กล้องให้ทามุมกับซับเจ็คจะทาให้มองเห็น
ซับเจ็คมากกว่าหนึ่งด้าน ส่วนการตัง้ กล้องประจันหน้ากับซับเจ็คตรงๆ จะเห็น
ซับเจ็คด้านเดียวซึง่ ภาพจะดูแบบ เช่น การถ่ายภาพตึกหากตัง้ กล้องตรงๆ
ภาพตึกจะดูแบนเพราะเห็นด้านหน้าด้านเดียว แต่ถา้ เคลื่อนกล้องไปด้านข้าง
เล็กน้อยก็จะเห็นทัง้ ด้านหน้าและด้านข้างของตึก และยิง่ ถ้ายกกล้องให้สงู ขึน้ อีก
ก็จะทาให้เห็นตึกด้านหน้าด้านข้างและด้านบน ภาพตึกก็จะยิง่ มีความลึกมาก
ขึน้
ในการถ่ายภาพคนก็เช่นกัน หากตัง้ กล้องถ่ายตรงๆ เหมือนกับการ
ถ่ายภาพติดบัตร ภาพทีไ่ ด้จะขาดความสวยงามเพราะไม่มคี วามลึก
เพราะฉะนัน้ ถ้าต้องการให้เห็นสัดส่วนของใบหน้า ควรตัง้ กล้องให้ทามุมกับตัว
แสดง เช่น ตัง้ กล้องทามุม 45 องศา
2. การใช้เลนส์มุมกว้าง

เลนส์มุมกว้างจะช่วยให้ภาพมีความลึกเพิม่ ขึน้ เพราะจะทาให้
เส้นทีแ่ สดงเปอร์สเปคตีฟแคบลง แต่ทงั ้ นี้จะต้องระวังการบิดเบือน
ของภาพ เพราะการใช้เลนส์มุมกว้างมากๆ และตัง้ กล้องใกล้ซบั เจ็ค
จะทาให้เส้นทีแ่ สดงเปอร์สเปคตีฟแคบลงมากและอย่างรวดเร็ว จนทา
ให้กลายเป็ นเส้นโค้ง เป็ นเหตุให้รปู ทรงของซับเจ็คผิดเพีย้ นไปจาก
เดิม ฉะนัน้ จึงต้องเลือกใช้เลนส์ให้สมั พันธ์กบั ระยะทางระหว่างกล้อง
กับซับเจ็คเพือ่ ป้องกันการบิดเบือนของภาพดังกล่าว แต่บางครัง้ อาจ
เจาะจงใช้เลนส์มมุ กว้างและตัง้ กล้องใกล้ๆ ซับเจ็คเพราะต้องการภาพ
ทีม่ เี ปอร์สเปคตีฟเกินจริงดังกล่าว
3. การจัดฉาก

การจัดวางทุกอย่างในฉาก ไม่วา่ จะเป็ นตัวแสดง เฟอร์นิเจอร์หรือสิง่
ประกอบฉากอื่นๆ ให้มบี างส่วนซ้อนกันอยูก่ เ็ ป็ นวิธเี พิม่ ความลึกของภาพอย่าง
ง่ายและได้ผลวิธหี นึ่ง การวางตัวแสดงและสิง่ ต่างๆ ในฉากให้หา่ งกันและไม่
ซ้อนกันเลย อาจทาให้ผดู้ สู บั สนว่าอะไรอยูใ่ กล้ อะไรอยูไ่ กล โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ ถ้าผูด้ ไู ม่คน้ เคยหรือไม่รขู้ นาดของสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นฉากนัน้ ก็จะยิง่ ทาให้ผดู้ ู
คาดคะเนระยะทางจากขนาดทีเ่ ห็นได้ลาบากเพราะไม่รวู้ า่ ของทีม่ ขี นาดเล็กนัน้
เป็ นเพราะอยูไ่ กลหรือมีขนาดเล็กจริงตามทีเ่ ห็น การวางของให้ซอ้ นกันจึงเป็ น
ทางออกทีด่ ี ทีจ่ ะช่วยให้ผดู้ รู วู้ า่ อะไรอยูใ่ กล้และอะไรอยูไ่ กล และช่วยให้ภาพมี
ความลึกมากขึน้ การจัดวางสิง่ ประกอบฉากในระนาบเดียวกัน นอกจากจะขาด
ความสวยงามแล้ว ภาพจะดูแบนยิง่ ขึน้ อีกด้วย
4. การเคลื่อนกล้องและตัวแสดง

การให้กล้องและตัวแสดงเคลื่อนทีผ่ า่ นสิง่ ประกอบฉากจะช่วย
สร้างความลึกให้แก่ภาพได้อย่างดี เช่น ในขณะทีก่ ารแสดงดาเนินไป
หากตัวแสดงเดิมอ้อมไปด้านหลังของโต๊ะรับแขกซึง่ เป็ นเครือ่ ง
ประกอบฉากทีต่ งั ้ อยูด่ า้ นหลังจะช่วยให้เห็นว่ามีระยะความลึกทีต่ วั
แสดงสามารถเดินผ่านได้จริงๆ หรือการเคลื่อนกล้องแทรกเข้าไปใน
ระหว่างเดินในฉากก็ทาให้ผดู้ รู สู้ กึ ถึงความลึกได้ดเี ช่นกัน
5. การจัดแสง


ก็มสี ว่ นช่วยสร้างความลึกให้แก่ภาพได้เช่นกัน การจัดแสงไม่ให้มเี งาเลย
จะทาให้ภาพดูแบบปราศจากความลึก ทัง้ ยังทาให้มองไม่เห็นพืน้ ผิวทีข่ รุขระ
และรูปทรงทีแ่ ท้จริงของซับเจ็คด้วย การให้แสงจากด้านข้างจะทาให้เกิดเงาที่
แยกซับเจ็คออกจากฉากหลังและสร้างความลึกให้แก่ภาพ
ในการจัดแสงภายใน ควรจัดแสงให้ดา้ นหน้าและด้านหลังของฉากสว่าง
ไม่เท่ากัน และให้มสี ว่ นสว่างและส่วนมืดผสมผสานกันในภาพเพือ่ ให้เกิดความ
ลึก ส่วนการถ่ายฉากภายนอกควรพยายามให้เห็นฉากหลังทีส่ ว่างกว่าฉากหน้า
จะช่วยให้ภาพมีบรรยากาศทีแ่ สดงความลึก เทคนิคนี้กส็ ามารถนามาใช้ในการ
จัดแสงภายในได้เช่นกัน คือ ให้ฉากหลังสว่างกว่าด้านหน้าเล็กน้อย เพือ่ ดึง
สายตาผูด้ ไู ปยังฉากหลังทีอ่ ยูล่ กึ เข้าไปด้านใน นอกจากนัน้ การจัดแสงให้เห็น
เงาของซับเจ็คทอดยาวไปตามพืน้ ก็ชว่ ยเพิม่ ความสวยงามและความลึกให้แก่
ภาพได้ดว้ ย
การจัดกรอบภาพ



การจัดกรอบภาพ คือการใช้ฉากหน้า(foreground) ตัดบางส่วนของภาพ
ออกทาให้รปู ทรงของกรอบภาพเปลีย่ นไปจากปกติ
ฉากหน้าทีอ่ าจใช้จดั กรอบภาพมีมากมายหลายอย่าง เช่น ซุม้ ประตู
กรอบประตู กรอบหน้าต่าง ชายคา โคมไฟ ป้ายชื่อสถานที่ รัว้ เสา
สะพาน หรือบางส่วนของสิง่ หนึ่งสิง่ ใด เช่น ใบไม้ กิง่ ก้านต้นไม้
การจัดกรอบภาพนี้จะช่วยสร้างความงามและเสริมความลึกให้แก่ภาพ
เพราะเป็ นการเพิม่ ฉากหน้าให้แก่ภาพ นอกจากนัน้ กรอบภาพทีส่ ร้างขึน้ จะ
ช่วยบังคับให้สายตาผูด้ พู งุ่ ไปทีจ่ ุดสนใจของภาพ เป็ นการเน้นความสาคัญของ
สิง่ นัน้ ให้เด่นขึน้ อีก
การจัดขอบเขตของภาพในแต่ละกรอบภาพ
( Framing )





ส่วนประกอบสาคัญในการถ่ายโทรทัศน์คอื การจัดกรอบภาพให้ตาแหน่งทีต่ งั ้ ของวัตถุ อยูใ่ น
ทีเ่ หมาะสมภายในกรอบภาพ โดยปกติภาพทีป่ รากฏบนจอโทรทัศน์จะเป็ นภาพของคนเสีย
ส่วนมาก ดังนัน้ จึงจะขอยกตัวอย่างโดยใช้รา่ งกายคนเป็ นตัวอย่าง โดยจัดตามหัวข้อต่อไปนี้
Head room
หมายถึงพืน้ ทีว่ า่ งบนส่วนบนของสิง่ ทีถ่ ่ายจนถึงเส้นกรอบบนของภาพ ถ้าทิง้ ว่างมากเกินไป
ภาพก็ไม่น่าดู ปริมาณพืน้ ทีท่ ก่ี ล่าวนี้จาเป็ นต่อสิง่ ต่อไปนี้
การจัดภาพให้สมดุลย์ สือ่ ความหมายทีถ่ กู ต้องและจะได้ภาพทีน่ ่าดู เมือ่ เว้นพืน้ ทีว่ า่ งส่วนบน
ได้เหมาะสม
ภาพบางส่วนจะหายไป ขนาดของภาพทีป่ รากฎให้คนคุมกล้องและผูก้ ากับเวทีเห็นอาจจะ
หายไปบางส่วน ถ้าคนคุมกล้องถ่ายล้นกรอบ ดังนัน้ จึงควรให้ภาพอยูภ่ ายในกรอบ ภาพทีเ่ ป็ น
หน้าคน ดวงตาเป็ นจุดสาคัญทีส่ ุด ดังนัน้ ควรจัดภาพให้ดวงตาอยูใ่ นกรอบภาพ แนวจุด ๆ
เป็ นแถบ หรือ 2/3 ตามขนาดความกว้างของกรอบภาพ
กรอบภาพแนวดิง่

เมือ่ คิดจะจัดภาพตามแนวดิง่ ให้เป็ นภาพโคลสอัพ ( Close-ups ) ให้
ระวังเกีย่ วกับการเว้นเนื้อทีเ่ หนือศรีษะ ( headroom ) มากหรือน้อย
เกินไป ส่วนบนของหัวไม่ควรแตะกรอบภาพด้านบนหรือด้านล่าง
นอกจากว่าจะเป็ นภาพทีถ่ ่ายในระยะใกล้มากขนาดทีเ่ รียกว่าล้นกรอบ
เช่น กรอบภาพตัดส่วนคางและหน้าผาก
กรอบภาพในแนวระดับ

เมือ่ คิดจะจัดภาพโดยคานึงตามแนวนอนหรือแนวระดับ ภาพคนทีม่ อง
ไปทางด้านขวา เราควรทีจ่ ะจัดให้ภาพเยือ้ งไปทางซ้ายของศูนย์กลาง
จอภาพ เว้นทีท่ างด้านขวาของจอไว้มากกว่าทางด้านซ้ายเมือ่ มีการ
ถ่ายภาพซึง่ มีทงั ้ ภาพแนวดิง่ และแนวระดับในฉากเดียวกัน ไม่ควรให้
เส้นตัดของทัง้ สองระดับอยูต่ รงกึง่ กลางภาพ
จุดตัดกรอบ ( Frame Cutting Points )

เมือ่ เราจะแบ่งส่วนร่างกายคนให้เข้ากรอบ ควรทีจ่ ะแบ่งตามภาพด้าน
ซ้ายมือคือ จากศีรษะลงมาถึงไหล่กเ็ ป็ นโคลสอัพ และขนาดต่อไปก็ให้
ไล่ลงไปตามเส้นประ สาหรับการแบ่งส่วนของกรอบด้านขวามือไม่
ถูกต้อง
การจัดภาพบุคคลและวัตถุ





จงดูให้แน่ใจเสียก่อนว่าบุคคลและวัตถุในภาพไม่เข้ามาซ้อนกัน จนทาให้ภาพไม่
น่าดู จงระวังการจัดระยะระหว่างผูแ้ สดงให้ผแู้ สดงใกล้หรือห่างกันพอสมควร
การจัดการแสดงควรใช้ความลึกให้เป็ นประโยชน์ในการจัดด้วยวิธตี ่อไปนี้
จงหลีกเลีย่ งการจัดให้เป็ นแถวตรง ควรจัดให้เป็ นมุมหรือในรูปของเรขาคณิต
เช่นแถวโค้ง หรือ เฉียง
จัดวัตถุให้อยูใ่ น foreground , middleground and background
เลือกเลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกัสต่างกัน เลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกัสสันจะได้
้
ภาพลึก
กว่าเลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกัสยาว
เส้นแกนการแสดง ( AXIS OF ACTION )

เส้นแกนการแสดง หมายถึง เส้นทีเ่ ราลากขึน้ มาในใจ ซึง่ เส้นนีม้ ี
ความสาคัญต่อเทคนิคการวางกล้อง เพือ่ ให้ผชู้ มดูภาพอย่างถูกต้อง
คือกล้องควรจะอยูด่ า้ นเดียวกัน ในขณะทีค่ นกาลันสนทนากัน จะได้
เห็นว่าเขาหันหน้าเข้าหากัน ถ้าตัง้ กล้องอยูค่ นละฟากของเส้น ภาพที่
ปรากฏจะทาให้ผชู้ มดูไม่ออกว่ากาลังสนทนากัน

การจัดกล้องไว้ดา้ นเดียวกันของเส้นแกน ( กล้อง 2 และกล้อง 3 )
ท่านจะเห็นว่าคูส่ นทนาหันเข้าหากันตามความเป็ นจริง โปรดสังเกตดู
ว่าถ้าเราใช้กล้อง 1 ให้ขา้ มไปอีกฟากหนึ่งของเส้นภาพคนผูช้ ายจะหัน
หลังให้กบั ผูห้ ญิงทีผ่ ดิ หลักความจริงไป
การจัดองค์ประกอบของภาพ

การจัดองค์ประกอบของภาพนัน้ มีรายละเอียดปลีกย่อย
มาก การฝึกฝนทีด่ ขี องผูก้ ากับรายการ จะช่วยให้เขาพัฒนาการจัด
องค์ประกอบทีง่ ดงามได้ เช่น การศึกษาจากภาพต่าง ๆ ในหนังสือ
ภาพยนตร์ หรือแม้แต่ในโทรทัศน์กต็ าม โดยวิเคราะห์ออกมาด้วยว่า
ความงาม ไม่งามของภาพนัน้ ขึน้ อยูก่ บั สิง่ ใด สาหรับหลักการจัด
องค์ประกอบของภาพทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานได้แก่
1. การถ่ายภาพในระยะใกล้ของคน


ควรจะจัดภาพให้ระดับตาของบุคคลนัน้ อยูใ่ นระดับสอง
ในสามทางด้านบนของจอ
2. ขณะทีถ่ ่ายภาพบุคคลกาลังมองไปด้านข้างของจอ


ควรจะเว้นทีว่ า่ งด้านหน้าของเขาไว้ให้มากกว่าด้านหลัง เราเรียกทีว่ า่ ง
ด้านหน้านี้วา่ “LOOKING ROOM”
3. ขณะทีก่ ล้องกาลังแพนตามคน


ทีก่ าลังเดินไปทางด้านข้างของจอ ก็จะต้องเว้นทีว่ า่ ด้านหน้าของเขา
ให้มากกว่าด้านหลังเช่นกัน เราเรียกทีว่ า่ งด้านหน้านี้วา่ “WALKING
ROOM”
4. การถ่ายภาพของคนทีไ่ ม่ใช่ลกั ษณะ
ภาพ VCU และ BCU


ควรจะเว้นช่องว่างระหว่างศีรษะกับขอบจอด้านบนพอสมควร ซึง่ เรา
เรียกช่องว่านี้วา่ “HEAD ROOM”
5. อย่าปล่อยให้บุคคลหรือสิง่ ของทีป่ รากฎอยูใ่ นจอไปติด
อยูท่ ก่ี รอบ

ด้านหนึ่งด้านใดของจอเป็ นอันขาด เพราะจะดูเหมือนว่าเขากาลังยืน
เท้าขอบจออยู่ หรือดูเหมือนว่าเขากาลังนังอยู
่ บ่ นขอบล่างของขอบจอ
และอาจดูเหมือนว่าศีรษะของเขาไปชนเพดาน จึงควรหลีกเลีย่ งสิง่
เหล่านี้ เพือ่ ไม่ให้ภาพออกมาแล้วมีลกั ษณะตลก
6. อย่าให้ขอบของจอภาพมาตัด


บริเวณคอ สะเอว หรือบริเวณช่วงตัวบางส่วนของมนุษย์ มันจะทาให้
ภาพดูน่าราคาญ
7. หลีกเลีย่ งฉากหลังทีร่ ก

หลีกเลีย่ งการจัดให้ผแู้ สดงไปยืนอยูบ่ ริเวณทีม่ ฉี ากหลัง (ฺ
BACKGROUND) รกรุงรัง บางทีอาจทาให้ดเู หมือนมีอะไรงอกบน
ศีรษะของเขา
8.ฉากหน้าเพิม่ มิติ


8. การออกแบบองค์ประกอบทีด่ ี ควรจะจัดให้ภาพมีฉากหน้า
บ้าง (FOREGROUND) จะช่วยสร้างมิตขิ องภาพขึน้ มา
9.เลนส์

9. ในการถ่ายภาพของคนสองคนในลักษณะถ่ายผ่านไปยังอีกคนหนึ่ง
(CROSS-SHOOTING) พึงระลึกถึงคุณสมบัตขิ องเลนส์ไว้ดว้ ย หาก
ใช้เลนส์มมุ กว้างจะทาให้ดเู หมือนคนสองคนอยูไ่ กลเกินกว่าความเป็ น
จริง หากใช้เลนส์มมุ แคบจะทาให้ดเู หมือนคนสองคนอยูใ่ กล้กนั เกิน
ความเป็ นจริง
ความสัมพันธ์ระหว่างภาพ

ในกรณีทใ่ี ช้กล้องโทรทัศน์ตงั ้ แต่ 2 กล้องขึน้ ไปในการ
ผลิตรายการโทรทัศน์จะต้องระมัดระวังในการจัดภาพให้มี
ความสัมพันธ์ซง่ึ กันและกัน มิเช่นนัน้ จะทาให้ภาพทีป่ รากฏขาดความ
สวยงามและความกลมกลืน
ขนาดของภาพ ในการสวิทช์ภาพ

1. ควรจะอยูใ่ นลักษณะขนาดเดียวกัน เช่น กล้องที่ 1
จับภาพ MCU - นาย ก. กล้องที่ 2 ควรจะจับภาพ MCU - นาย ข.
ด้วย
ขนาดของภาพ ในการสวิทช์ภาพ

2. ถ้าจะจับภาพคน 2 คนยืนสนทนากัน ควรให้ทต่ี งั ้
กล้องโทรทัศน์อยูใ่ นระยะเดียวกัน มิเช่นนัน้ จะทาให้การตัดภาพจาก
ภาพหนึ่งไปยังอีกภาพหนึ่งดูไม่ราบรืน่
ตาแหน่ งและมุมกล้อง



ผูผ้ ลิตรายการต้องเลือกทิศทางมุมกล้องเพือ่ ทีจ่ ะจับภาพของแต่ละตอนในแต่ละ
ฉาก
มุมกล้อง ( Choice of Field of View )
ผูผ้ ลิตรายการต้องตัดสินใจกาหนดว่าจานวนตัวแสดง ( Subject ) ส่วนประกอบ
ฉาก ( Background ) ทีจ่ ะรวมในภาพทีจ่ ะเกิดจากการจับภาพของกล้องแต่ละ
กล้อง ( มุมและตาแหน่งกล้อง ) อย่างไรก็ตามตาแหน่ง Long Shot ต้องกาหนด
แน่นอนในใจ เพือ่ สะดวกในการหาความสัมพันธ์ของแต่ละตัวละครทีเ่ ข้าฉาก
ตาแหน่งClose up เลือกเพือ่ จับภาพทีจ่ ะเน้นให้เกิดความประทับใจสมบทบาท
( Dramatic emphasis ) ของท้องเรือ่ ง
ตาแหน่งกล้องหลัก กล้องรอง
( Choice of Objective and Subjective Camera )
ในการใช้กล้องหลัก กล้องรอง เป็ นเทคนิคอย่างหนึ่งในการกากับเพือ่
เสนอภาพ หรือหลีกเลีย่ งภาพในขณะดาเนินการบันทึก ซึง่ มี
ความสาคัญต่อภาพในจอและยังสามารถสร้างความรูส้ กึ สมจริงแก่
ผูช้ มอีกด้วย
 ภาพแสดงถึงการจัดกล้อง กล้อง 3 จับภาพทัง้ หมดเป็ นกล้องหลัก
ส่วนกล้อง 2 และกล้อง 1 จับมุมต่าง ๆ เพือ่ ผลด้านอารมณ์ ฯลฯ ถือ
ว่าเป็ นกล้องรอง

การเลือกมุมกล้อง

เป็ นหน้าทีข่ องผูก้ ากับ ( มุมสูง , มุมต่า , หรือมุมบน ) เพือ่ จะให้ได้
ภาพทีใ่ ห้ความรูส้ กึ ตามบท มุมกล้องชนิดต่าง ๆ จะมีบทบาทสาคัญ
ต่อความรูส้ กึ ของผูช้ ม มุมต่าจะให้ความรูส้ กึ มีอานาจ สูงตระหง่าน
ส่วนมุมสูง ผูด้ อู ยูส่ งู กว่าสัตถุในภาพ มุมบน ( Overhead Shot ) มัก
ใช้ในการหมุนกล้องเพือ่ ให้ได้ภาพหมุน ( Curling ) เป็ นต้น
ในการสร้างความรูส้ กึ นาฏการ

ขณะเสนอภาพฉากหนึ่งจากตาแหน่งกล้องหนึ่ง กล้องสามารถจับภาพ
ในมุมของตัวละครตัวทีส่ องก็ได้ หรือมุมภาพทีเ่ ห็นจากผูแ้ สดงหลัก
มุมเหล่านี้จะให้ความรูส้ กึ ต่อผูช้ มเสมือนมีสว่ นร่วมในภาพด้วย ดู
ภาพประกอบ
C
A
B

เมือ่ นาภาพ2 ภาพซ้อนมารวมกัน จะต้องระมัดระวังการจัด
ทิศทางของภาพด้วย ดังเช่นในภาพ หากเราตัดภาพระหว่างกล้อง 1 และ
กล้อง 2 จะได้ภาพดังคูแ่ รก ซึง่ จะดูเป็ นธรรมชาติวา่ ทัง้ คูก่ าลังสนทนากันอยู่
ทิศทางของกล้อง
3
1
1
2
2
3
การพัฒนาภาพ (SHOT DEVELOPMENT)
การพัฒนาภาพ

คือการเคลื่อนกล้องเพือ่ แสดงเหตุการณ์หนึ่งในมุมต่าง
ๆ ได้อย่างสือ่ ความหมาย เพือ่ ช่วยให้ผชู้ มสามารถติดตามเหตุการณ์
ต่าง ๆ ได้อย่างประทับใจ การใช้ลกั ษณะภาพอย่างนี้ จะต้องอาศัย
ทักษะทัง้ ของผูก้ ากับรายการและช่างภาพเป็ นอย่างมาก เพราะจะต้อง
ปรับโฟกัสและกรอบภาพอยูต่ ลอดเวลา อีกทัง้ ต้องเข้าถึงอารมณ์ของ
เหตุการณ์ดว้ ย ตัวอย่างการพัฒนาภาพ

การวางแผนลักษณะภาพ (VISUAL TREATMENT)
การวางแผนลักษณะภาพ

คือ การจินตนาการเพือ่ ทีจ่ ะให้ได้ภาพและลาดับภาพที่
น่าสนใจ และสือ่ ความหมายต่อผูช้ มมากทีส่ ดุ ในการวางแผนลักษณะ
ภาพนัน้ ผูก้ ากับรายการอาจทาได้ 2 วิธกี ารคือ
 (1)เริม
่ ต้นด้วยลาดับของเหตุการณ์นนั ้ ๆ และก็นามาคัดเลือกและตัด
ต่อภาพตามนัน้ และ
 (2)เริม
่ ต้นด้วยการจินตนาการถึงภาพทีม่ ุมสวย ๆ ก่อน และมาจัดให้
เป็ นลาดับตามเหตุการณ์ในภายหลัง


การวางแผนภาพทีด่ ไี ด้นนั ้ จะทาได้โดย
1. มีการออกแบบเวทีอย่างดี

2. จินตนาการถึงเหตุการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ (โดยใช้หลักใน
ประการที่ 1 และ 2 ข้างต้น ประการใดประการหนึ่ง)

3. ถ่ายทอดภาพทีจ่ นิ ตนาการออกมานัน้ เป็ นสตอรีบ่ อร์ด
ซึง่ จะช่วยให้เราเห็นภาพได้ชดั เจนยิง่ ขึน้

การเปลี่ยนและเชื่อมโยงภาพ
( Choice of Different Transitions )

วิธกี ารเปลีย่ นจากภาพหนึ่งสูอ่ กี ภาพหนึ่ง ( Shot to Shot ) จากฉากสู่
อีกฉากนัน้ มีความสาคัญมากทัง้ ต่อความรูส้ กึ และความต่อเนื่องของ
รายการ
มีหลักสาคัญ ในการเปลีย่ นหรือเชือ่ มโยงภาพ

Take , Cut or Switch : คือการเปลีย่ นภาพหนึ่งสูภ่ าพหนึ่งอย่าง
ทันทีทนั ใด
มีหลักสาคัญ ในการเปลีย่ นหรือเชือ่ มโยงภาพ
Dissolve ( Lap dissolve or Lap ) คือการแทนทีภ่ าพด้วยการค่อย
ๆ เลื่อนภาพหนึ่งออกขณะเดียวกันค่อยเพิม่ ความปรากฎชัดอีกภาพ
หนึ่งอย่างราบรืน่ โดยการ fade in และ fade out
 Fade : คือการเลือนภาพ
 Fade out : เป็ นการเลือนภาพออกจนจอว่าง

Fade in : เป็ นการนาภาพเข้าแทนจอว่าง

มีหลักสาคัญ ในการเปลีย่ นหรือเชือ่ มโยงภาพ








การเปลีย่ นภาพหรือการเชือ่ มโยงภาพยังมีหลักย่อย ๆ ควรทาความเข้าใจดังต่อไปนี้
4. Defocus – refocus : เป็ นการนาภาพให้ปรากฎหรือเลือนจาง โดยอาศัยเทคนิคการปรับความคมชัด
( focus )
Defocus : ปรับจากภาพชัดสูภ่ าพเลือนลาง ( Out of focus )
Refocus : ปรับจากภาพ Out of focus สู่ Into focus
Defocus-Refocus : กล้องจับภาพขณะ Out of focus แล้วเลือ่ นตาแหน่งหรือมุม กล้องใหม่ แล้วปรับสู่ Into
focus
Wipe : การกวาดภาพ โดยการกวาดภาพทีไ่ ด้จากกล้องหนึ่งออกสูภ่ าพจากอีกกล้องหนึ่ง กระทาได้โดยอาศัย
การควบคุม Master Control หรือ Special effects generator
Flexitron ( ripple dissolve ) : ภาพจะแทรกหรือเหลือ่ ม ( wiggles or wanes ) เช่นเดียวกับการซ้อนภาพ
( dissolve ) กระทาได้โดยเทคนิคจากเครือ่ งอีเล็กทรอนิคส์กบั Audio oscillator
Swish pan ( Zip pan , whiz pan ) : การแพนกล้องอย่างเร็วในขณะทีจ่ บั ภาพเบลออยู่ ไปสูอ่ กี ตาแหน่ งหนึ่ง
แล้วค่อยปรับภาพให้ชดั