เอกสารประกอบการสัมมนาเครือข่าย ระหว่างวันที่ 17-19

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการสัมมนาเครือข่าย ระหว่างวันที่ 17-19

นโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต
ปี งบประมาณ 2556 - 2557
นางสาวนันทาวดี วรวสุวสั
ผูอ้ านวยการศูนย์สขุ ภาพจิตที่ 7
1
เป้ าหมายหลัก /
ตัวชี้วดั
มิ ติการ
กลุ่ม
ดาเนิ นงาน เป้ าหมาย
วัยเด็ก
ประชาชนมีความสุข
เพิ่มความสุข
70% ของประชาชน
ในแต่ละจังหวัดมีความสุข
ดี
เสี่ยง
( ส่งเสริ ม )
( ป้ องกัน )
ส่งเสริ มพัฒนาการ / IQ / EQ
บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม
(กิ น – กอด - เล่น - เล่า)
เป้ าหมาย : 70% ของเด็ก มี IQ-EQ ไม่ตา่ กว่ามาตรฐาน
80% ของเด็กที่มีพฒ
ั นาการไม่สมวัย ได้รบั การกระตุ้น
วัยรุ่น
ทักษะชีวิต / EQ
พฤติ กรรมเสี่ยง
(ปรับทุกข์ – สร้างสุข – แก้ปัญหา
– พัฒนา EQ)
(ยาเสพติ ด / ความรุนแรง/
ติ ดเกม / ท้องไม่พร้อม)
เป้ าหมาย : 70% ของวัยรุ่น มี EQ ไม่ตา่ กว่ามาตรฐาน
50% ของวัยรุ่นที่เข้ามาในระบบช่วยเหลือฯ ได้รบั การดูแล
ช่วยเหลือทางสังคมจิ ตใจ
วัยทางาน
ครอบครัว / ความสุขในการทางาน / RQ
(อึด – ฮึด - สู้)
เป้ าหมาย : 70% ของประชาชนมีความสุข (มีสุขภาพจิ ตดี)
วัยสูงอายุ
การสร้างคุณค่าและ
ความภาคภูมิใจในชีวิต
การดูแลผู้สงู อายุ
ที่ ถกู ทอดทิ้ ง
(ติ ดสังคม)
(ติ ดบ้าน)
เป้ าหมาย : 70% ของประชาชนมีความสุข (มีสุขภาพจิ ตดี)
50% ของผูส้ ูงอายุในคลิ นิก NCD/คลิ นิกสูงอายุ ได้รบั
การดูแลภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม
ลดความทุกข์
อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน
ในแต่ละจังหวัดลดลง
ป่ วย
ภาวะวิ กฤต
( รักษา-ฟื้ นฟู )
Mental Retardation / Autistic / ADHD
Psychosis / Schizophrenia /
Depression / Suicide / Dementia
เป้ าหมาย : Service Accessibility
- MR / Autistic / ADHD
(ปี 2557 – 20% / ปี 2559 - 25% )
- Psychosis / Schizophrenia
(ปี 2557 – 75% / ปี 2559 – 80%)
- Depression
(ปี 2557 – 31% / ปี 2559 - 50% )
- Suicide Ideation / Attempt
(ปี 2557 – 80%/ ปี 2559 - 90% )
- Dementia
(ปี 2557 – 5% / ปี 2559 - 10% )
วิ กฤตสุขภาพจิ ต
(2P2R) /
การจัดบริ การ
สุขภาพจิ ตสาหรับ
ผู้ได้รบั ผลกระทบ
ในภาวะวิ กฤต
เป้ าหมาย :
70% ของประชาชน
กลุ่มเสี่ยงในภาวะ
วิ กฤต ได้รบั
การคัดกรองและ
ดูแล
2
ตัวชี้วดั ที่สาคัญ / เป้ าหมายการดาเนินงาน
ตามนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต
ปี งบประมาณ 2556
3
ตัวชี้วดั ที่สาคัญ / เป้ าหมายการดาเนินงาน
ตามนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี งบประมาณ 2556
ระดับ
ตัวชี้วดั
Impact
ของ
นโยบาย
การดาเนิ นงาน
สุขภาพจิ ต
ตัวชี้วดั / เป้ าหมายระดับกรมฯ
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย
ปี 2556
1. ร้อยละของประชาชนไทย
มีความสุข
ร้อยละ 70
2. อัตราการฆ่ าตัวตาย
สาเร็จ
ตัวชี้วดั
1. ร้อยละของประชาชน
ในจังหวัด มีความสุข
ไม่เกิ น 6.5 ต่อ
ประชากรแสนคน
2. อัตราการฆ่ าตัวตายสาเร็จใน
จังหวัดลดลงจากปี ก่อน
ร้อยละ 20
ร้อยละ 31
3. อัตราการเข้าถึงบริ การ
สุขภาพจิ ตและจิ ตเวชเพิ่ มขึ้นจาก
ปี ก่อน
* Autistic
* โรคซึมเศร้า
3. อัตราการเข้าถึงบริ การ
สุขภาพจิ ตและจิ ตเวช
* Autistic
* โรคซึมเศร้า
ข้อเสนอตัวชี้วดั / เป้ าหมาย
สาหรับการเฝ้ าระวัง / ประเมินสถานการณ์ในระดับพื้นที่
เป้ าหมาย
ปี 2556
หน่ วยงาน
ระดับพืน้ ที่
ร้อยละ 70
สสจ.
ลดลงร้อยละ......
จากปี ก่อน
สสจ.
สสจ.
เพิ่ มขึ้นร้อยละ....
เพิ่ มขึ้นร้อยละ....
4
เน้ น
ส่งเสริม/ กระตุ้นพัฒนาการเด็ก
พัฒนาความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ (IQ-EQ)
5
แนวทางการบูรณาการการดาเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ
เด็ก
เสี่ยง
ดี
กลุ่มเป้ าหมาย
ป่ วย
อบรมพยาบาล WBC
ใน รพ.สต./ รพช.
จัด National
Screening
รณรงค์ /
จัดกิจกรรม
ทั่วประเทศ
Social campaign
พัฒนามุมพัฒนาการเด็ก
ใน Well-baby Clinic
แพทย์ พยาบาลใน รพช.
งานพัฒนาการในศูนย์เด็กเล็ก
ครูพี่เลีย้ ง รพ.สต. รพช.
ระบบ Refer ใน
รพศ./รพท./รพช.
บริ การสุขภาพจิ ตเด็ก
และวัยรุ่นแบบบูรณาการ
โรงพยาบาลจิ ตเวช
6
เน้ น
พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
พัฒนาทักษะชีวิต
ป้ องกันปัญหาการเรียนและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
เช่น ความรุนแรง การติดสารเสพติด การติดเกม การตัง้ ครรภ์
7
แนวทางการบูรณาการการดาเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ
กลุ่มเป้ าหมาย
วัยรุน่
เสี่ยง
ดี
พืน้ ที่สร้างสรรค์ เวทีสร้างสุข
ป้ องกัน 4 ปัญหาหลักในวัยรุ่น
ท้อง, ยาเสพติ ด,
ความรุนแรง, เกม
Psychosocial
Clinic
รพช.
ระบบ Refer
การคัดกรองเด็กที่มีปัญหา
การให้คาปรึกษาในโรงเรียน
ระบบ YC
SDQ
ป่ วย
รพศ./รพท.
ระบบ Refer
บริ การสุขภาพจิ ตเด็ก
และวัยรุ่นแบบบูรณาการ
โรงพยาบาลจิ ตเวช
ระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนในโรงเรียน
นักจิ ตวิ ทยาในโรงเรียน
ท้องไม่พร้อม / ยาเสพติ ด/
ADHD / LD
รณรงค์ สธ.+ศธ. ร่วมใจ
ปฐมนิ เทศ “ปฐมบททางเพศ”
8
เน้ น
พัฒนาความสามารถในการปรับตัว/ยืดหยุ่นในการทางาน (Resilience)
สร้างความสุขในการทางาน
ป้ องกันพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทางาน (การติดสุรา/ยาเสพติด/ความเครียด)
สร้างและรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว
9
แนวทางการบูรณาการการดาเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ
ดี
เสี่ยง
ป่ วย
กลุ่มเป้ าหมาย
วัย
ทางาน
Happy Workplace
ให้ความรู้เรื่องยาเสพติ ด /
เครียด / ซึมเศร้า / สุรา /
RQ / การแก้ปัญหา
สถานประกอบการ/โรงงาน
ระบบการให้คาปรึกษาใน
Psychosocial Clinic
รพศ./รพท.
ระบบ Refer
รพช.
ระบบบริการบาบัดรักษา
และฟื้ นฟูทางจิตเวช
โรงพยาบาลจิตเวช
10
เน้ น
สร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจในชีวิต
ป้ องกันปัญหาสุขภาพจิตในผูส้ งู อายุที่ถกู ทอดทิ้ง
11
แนวทางการบูรณาการการดาเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ
กลุ่มเป้ าหมาย
วัย
สูงอายุ
ดี
ส่งเสริ มสุขภาพจิ ต /
คัดกรอง
Depression/Dementia
และส่งต่อเข้ารับการดูแล
ชมรมผู้สูงอายุ
เสี่ยง
ประเมิ นและดูแลภาวะ
Depression/Dementia
คลินิก NCD / คลินิกสูงอายุ
ใน รพช.
ป่ วย
รพศ./รพท.
ระบบ Refer
ระบบบริการบาบัดรักษา
และฟื้ นฟูทางจิตเวช
โรงพยาบาลจิตเวช
12
เน้ น
พัฒนาหน่ วยบริการจิตเวชให้มีความเป็ นเลิศเฉพาะทางฯ (Excellence center)
ยกระดับงานบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในโรงพยาบาลจิตเวชทัวไปในสั
่
งกัดกรมฯ
ในระดับที่เหนื อกว่าระดับตติยภูมิ (Supra Tertiary)
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย รวมทัง้
พัฒนาศักยภาพบุคลากร
สร้างและพัฒนาเครือข่ายการดาเนินงานสุขภาพจิตชุมชนในระดับอาเภอให้มีศกั ยภาพ
และความเข้มแข็ง
13
แนวทางการบูรณาการการดาเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ
กลุ่มเป้ าหมาย
ดี - เสี่ยง
รุนแรง ยุ่งยาก
ซับซ้อน
ป่ วย
Refer
ผู้มีปัญหา
สุขภาพจิต
และจิตเวช
ระบบส่งเสริม/ ป้ องกัน
เฝ้ าระวัง คัดกรอง
ให้ความรู้เบือ้ งต้น
เครื อข่ ายในชุมชน
พัฒนาการเด็ก /
MR / Autistic /
ADHD /
Schizophrenia/
Depression /
Suicide /
Dementia
ประเมินและดูแลเบือ้ งต้น
รพ.สต. / ศสม.
บริ การสุขภาพจิ ตและจิ ตเวช
ในระบบบริ การสาธารณสุข
ระดับทุติยภูมิ / ตติ ยภูมิ
รพช. / รพท. / รพศ.
12 พวงบริการ
Refer
บริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ระดับเหนือกว่ าตติยภูมิ
(Supra Tertiary)
โรงพยาบาลจิตเวช 18 แห่ ง
บริ การบาบัดรักษา
และฟื้ นฟูสมรรถภาพ
ทางจิ ตเวชเฉพาะทาง
(Excellence)
โรงพยาบาลจิตเวชเฉพาะทาง
14
พัฒนาการดาเนินงานดูแลและเยียวยาจิตใจในสถานการณ์ วิกฤต
เน้ น
สุขภาพจิตจากเหตุการณ์ ต่างๆ
สื่อสารข้อมูลและความรู้ในการดูแลจิตใจในภาวะวิกฤต
จัดทีม MCATT ประจาหน่ วยงาน และประจาอาเภอในพืน
้ ที่
พร้อมดูแลในสถานการณ์วิกฤต
15
แนวทางการบูรณาการการดาเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ
กลุ่มเป้ าหมาย
เสี่ยง
ดี
ป่ วย
วิกฤต
สุขภาพจิต
ระยะปกติ
เตรียมพร้อม
ซ้อมแผน
ระยะวิกฤติ
ฉุกเฉิน
ส่งเสริ มความรู้
การดูแลจิ ตใจ
ระยะ
หลังวิกฤต
สื่อสารความรู้
การดูแลจิ ตใจในวิ กฤต
สื่อสารความเสี่ยง
จัดการกับความรู้สึก
ส่งเสริ มความคิ ดบวก
สร้างพลังใจ
Resilience
บูรณาการการบริ การวิ กฤต
สุขภาพจิ ตในระบบบริ การ
EMS
MCATT ทุกอาเภอ
ติ ดตามฟื้ นฟูเยียวยาจิ ตใจ
16
เน้ น
พัฒนาระบบบริหารจัดการของกรมสุขภาพจิต สู่เป้ าหมายคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล
พัฒนาข้อมูลสารสนเทศทางระบาดวิทยาของโรค/ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ส่กู ารเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
มุ่งเน้ นทรัพยากรบุคคล
เตรียมความพร้อมสู่การเป็ นผู้นาด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในกลุ่มประชาคมอาเซียน
17
กลุ่มเป้ าหมาย
เด็ก

ตรวจพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี ปี ละครัง้
พัฒนาศักยภาพบุคลากรในคลินิกพัฒนาการเด็ก
พัฒนาคุณภาพระบบการตรวจพัฒนาการเด็กใน Well – baby Clinic และศูนย์เด็กเล็ก
วัยรุ่น

สธ.ร่วมกับ ศธ.สร้างระบบการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องท้องไม่พร้อม / ยาเสพติด /
ADHD / LD ในโรงเรียนและโรงพยาบาล
พัฒนาศักยภาพบุคลากรใน Psychosocial Clinic ในการดูแลวัยรุ่น
วัยสูงอายุ

พัฒนามาตรฐานชมรมผู้สงู อายุ
พัฒนาบริการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สงู อายุในคลินิก NCD/ คลินิกผู้สงู อายุ
ผู้มีปัญหา
สุขภาพจิต
และจิตเวช

พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน 12 พวงบริการ
พัฒนาศักยภาพบุคลากร สธ.
ยกระดับระบบบริการจิตเวชในกรมฯ เป็ น SupraTertiary และ Excellence Center
วิกฤต
สุขภาพจิต

จัดให้มีทีม MCATT ในทุกอาเภอ
18
เชิงโครงสร้าง บทบาท ระบบ
 ปรับปรุงโครงสร้าง ระบบงาน กรอบอัตรากาลัง ระเบียบของสถานบริการ
สาธารณสุขใน สป. ให้รองรับการดาเนินงานด้านสุขภาพจิต
 ทบทวนระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน รพช.
 พัฒนากาลังคนในพวงบริการ
19
ระบบข้อมูลและการสนับสนุน
 สร้าง Policy Advocacy ในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น
 ทบทวนรายงานในระบบข้อมูลและการรายงานของ สป. (21 แฟ้ ม)
 พัฒนาข้อมูลทางระบาดวิทยา เพื่อสะท้อนสภาพปัญหารายจังหวัด
 นิเทศ/ติดตามการดาเนินงานในพืน้ ที่ โดยทีมผูต้ รวจราชการกระทรวงฯ /
ผูน้ ิ เทศงานของกรมฯ (เน้ นกระบวนการนิเทศ/ติดตามงานสุขภาพจิต
โดยไม่จาเป็ นต้องกาหนดเป็ นตัวชี้วดั )
 จัดทาแผนการพัฒนากาลังคนในจังหวัด โดยรพ.จิตเวช และศูนย์สขุ ภาพจิต
ร่วมกับ สสจ.
20
ระดับ
ตัวชี้วดั
ประเด็นนโยบายฯ
วัยเด็ก
วัยรุ่น
วัยทางาน
วัยสูงอายุ
บริ การสุขภาพจิ ต
วิ กฤตสุขภาพจิ ต
• ความสุข (70%)
• การฆ่าตัวตาย (6.5 : 100,000)
• การเข้าถึงบริ การ (Autistic – 20% / Depression – 31%)
Impact
Outcome • IQ-EQ (70%)
• เด็กพัฒนาการ
ไม่สมวัยได้รบั การ
กระตุ้น (80%)
• EQ (70%)
•วัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพจิ ต
ได้รบั การคัดกรองและ
ช่วยเหลือทางจิ ตใจ (50%)
• ผูส้ งู อายุที่ได้รบั
การคัดกรองได้รบั การ
ดูแลภาวะซึมเศร้า/
สมองเสื่อม (50%)
• ประชาชนกลุ่ม
เสี่ยงในภาวะวิ กฤต
ได้รบั การ คัดกรอง
และดูแล (70%)
• การเข้าถึงบริ การ
(MR / Autistic / ADHD – 20% / Psychosis / Schizophrenia – 75% / Depression -31% / Suicide – 80 % / Dementia – 5%)
• รพศ./รพท. มีบริ การสุขภาพจิ ตและจิ ตเวช ผ่านเกณฑ์คณ
ุ ภาพขัน้ 3 (20%)
• รพศ./รพท. มีบริ การสุขภาพจิ ตและจิ ตเวชวัยรุ่นที่มีมาตรฐาน (50%)
• รพช. มีบริ การสุขภาพจิ ตและจิ ตเวชผ่านเกณฑ์คณ
ุ ภาพขัน้ ที่ 1 (70%)
Output
• Well-baby clinic
ในรพช. (50%)
• Psychosocial Clinic ใน รพช. (50%)
• Friend Corner ในโรงเรียน
(สถานศึกษา) (20%)
• MCATT ใน
ทุกอาเภอ (100%)
• คลิ นิก NCD/คลิ นิก
สูงอายุ มีบริ การดูแล
สุขภาพจิ ตผูส้ งู อายุ
(80%)
• เครือข่ายงานสุขภาพจิ ตในระดับอาเภอมีความเข้มแข็ง (30%)
(รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/โรงเรียน/วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ)
21
22
Impact
Outcome
Output
• สารวจข้อมูล
• IQ-EQ - สิ้นแผนฯ
• พัฒนาการไม่สมวัย - ครึ่งแผนฯ
• ความสุข / การฆ่าตัวตาย - ทุก 3 เดือน / ทุกสิ้นปี
• ใช้ระบบรายงาน 21 แฟ้ มของ สป. *
• กรมฯ ประมวลข้อมูลรายจังหวัด และส่งรายงาน
ให้กบั ศูนย์สขุ ภาพจิต
• ศูนย์สขุ ภาพจิตกระตุ้นงานผ่านการนิเทศ
• ศูนย์สขุ ภาพจิตนิเทศจังหวัดเชิงคุณภาพ
• ส่งรายงานให้กรมฯ
* หมายเหตุ กรณีทร่ี ะบบรายงาน 21 แฟ้มของสป.ในจังหวัดใดยังไม่สมบูรณ์ จะต้องใช้ระบบ
รายงานข้อมูล (แบบรายงานแผ่นเดียว) จากการนิเทศงานของศูนย์สุขภาพจิต
23