Final - สำนักงานจังหวัดเชียงใหม่

Download Report

Transcript Final - สำนักงานจังหวัดเชียงใหม่

แนวทางการปรับแผนพัฒนาจังหวัด
ึ ษาการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา
กรณีศก
ดร. บัญชร ส่ งสัมพันธ์
นักวิจัยอาวุโส
1
สรุ ปความเห็นจากการอบรม
• PEST ต้ องประยุกต์ไปแต่ละจว.
• Cluster ยังมีความจาเป็ น เพราะ
Economy of scale
• ควรมีคมู่ ือการจัดทาแผนจาก
ส่วนกลาง
• คาจัดความของโครงการสาคัญ?
• การเชื่อมโยงโครงการจว.กับโครงการ
ของ country strategy
• ผลของโครงการต่อจานวนปชช.
• ทีมยุทธ์จว. ควรได้ รับโอกาศด้ าน
เวลาและปั จจัยงานยุทธ์มากกว่านี ้
• ควรมีเวทีในการบูรณาการระหว่าง
area&function บ่อยๆ
• แผนที่ดีขึ ้นกับข้ อมูล ควรสร้ าง
เครื อข่ายตังแต่
้ วนั นี ้
แนวทางการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 4 ขัน้ ตอน
How-to
ขัน้ ตอนที่ 1
พัฒนาตัวชี้วดั ระดับ
จังหวัด (PPIR)
• Growth &
Competitiveness
• Inclusive Growth
• Green Growth
• Government
Efficiency
• Opinion Survey
• ยุทธศาสตร์ชาติ:
นโยบายรัฐบาล,
Country Strategy,
ยุทธศาสตร์บริหารจัดการ
น้ า, งบลงทุนโครงสร ้าง
พืน
้ ฐาน, โซนนิง่ ภาค
เกษตร, แผนพัฒนาภาค,
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
เฉพาะด ้าน (เกษตร อุตสาหกรรม ท่องเทีย
่ ว ฯ)
ขัน้ ตอนที่ 2
SWOT
• SWOT Analysis
ขัน้ ตอนที่ 3
การจัดทา
ยุทธศาสตร์
(Strategy Formulation)
•
•
•
•
•
ขัน้ ตอนที่ 4
แผนงาน/
โครงการสาคัญ
(Flagship Projects))
ั ทัศน์
วิสย
ตาแหน่งจุดยืน
เป้ าประสงค์
ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชวี้ ด
ั ความสาเร็จ
Missing Links
• PEST Factors
การวิเคราะห์ตาแหน่ง
• ความต ้องการของ
ประชาชน (Spider
Chart)
• แผนทีน
่ โยบาย
(policy mapping)
• Critical Success Factor
(CSF) & KPIระดับแผนง
•TOWS Matrix:
(พัฒนายุทธศาสตร์)
• การจัดลาดับความสาคัญ
ของประเด็นยุทธศาสตร์
Product Champion
• BCG Model
• Five Force Model
• Crucial Social &
Environmental Issues
• Critical Success Factor (CSF) & KPI
ระดับแผนงาน/โครงการ
• การจัดลาดับความสาคัญ
ระดับแผนงาน/โครงการ
4
การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ
(Country Strategy) เพือ
่ เป็ น
์
กรอบการจัดสรรงบประมาณประจาปี 2557
หลุด
NEW GROWTH MODEL
สร้ างฐานเศรษฐกิจ ที่
พ้นจาก
มั่น คงและยั่ง ยืน
Growth &
คน / คุณภาพชีวต
ิ
/ ความรู้ / ยุตธ
ิ รรม
Inclusive Growth
ลด
ความ
เหลือ
่ ม
ลา้
ประเท
ศ
รายได้
ปาน
ปรั
บ
กลาง
Intern
al
Proce
ss
กฎระเบี
ยบ
Competitiveness
โครงสร้างพืน
้ ฐาน
/ ผลิตภาพ / วิจย
ั
และพัฒ/ นา
ระบบงาน
กาลังคนภาครัฐ
งบประมาณ
เป็ นมิตรGreen Growth
ตอ
่
สิ่ งแวดล้
อม
/
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ประเทศ (Country Strategy) เพือ่ เป็ นกรอบการจัดสรร
งบประมาณประจาปี 2557
NEW GROWTH MODEL GOALS IN 10-15 YEARS
Growth & Competitiveness
หลุดพ้ น
จาก
ประเทศ
รายได้ ปาน
กลาง
1.รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็ น 12,400 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี (GNI) - ปี 2554 อยูท่ ี่ 4,420 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี
(Higher-income Country ต้องมีรายได้มากกว่า 12,275 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี )
2.อัตราการขยายตัวของ GDP อยูท่ ี่ร้อยละ 5.0 - 6.0 ต่อปี - เฉลี่ยปี 2545 - 54 อยูท่ ี่ร้อยละ 4.2
3.เพิ่มการลงทุนด้าน R&D ให้มากกว่าร้อยละ 1 ต่อ GDP - ปี 2554 อยูท่ ี่ร้อยละ 0.24
Inclusive Growth
ลดความ
เหลื่อมลา้
1.GINI coefficient ปรับลดลงเหลือ 0.40 หรื อน้อยกว่า - ปี 2554 อยูท่ ี่ 0.476
2.เพิม่ สัดส่ วน SMEs ต่อ GDP ให้มากกว่าร้อยละ 40 ต่อ GDP - ปี 2554 อยูท่ ี่ร้อยละ 36.6 (3.86 ล้าน
ล้านบาท)
3.ปี การศึกษาเฉลี่ยอยูท่ ี่ 15 ปี และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยูท่ ี่ร้อยละ 100 - ปี การศึกษาเฉลี่ยอยูท่ ี่ 8.2 ปี (2554)
และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยูท่ ี่ร้อยละ 93.10 (2548)
Green Growth
เป็ นมิตรต่ อ
สิ่ งแวดล้ อม
1.ลดการปล่อย GHG ในภาคพลังงาน ให้ต่ากว่า 4 ตัน/คน/ปี - ปี 2553 อยูท่ ี่ 3.3 ตัน/คน/ปี และจากการศึกษา
คาดว่าในอีก 10 ปี จะเพิ่มขึ้นเป็ นมากกว่า 5 ตัน/คน/ปี (การปล่อย GHG ของภาคพลังงานคิดเป็ นร้อยละ
70 ของประเทศ)
2.เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ท้ งั หมด (128 ล้านไร่ ) - ปี 2552 อยูท่ ี่ร้อยละ 33.6 (107 ล้านไร่ )
การกาหนดตาแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ของกลุม
่ จ ังหว ัดและจ ังหว ัด
ตามแผนพ ัฒนากลุม
่ จ ังหว ัด แผนพ ัฒนาจ ังหว ัด 4 ปี (พ.ศ. 2557 – 2560) โดยเน้นเฉพาะเรือ
่ งสาค ัญทางด้านเศรษฐกิจและสร้างรายได้
ั ัศน์ ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระด ับประเทศ
วิสยท
้ ทางท่องเทีย
ิ ค้าเกษตรมาตรฐานสากล เสน
แหล่งผลิตสน
่ วธรรมชาติและว ัฒนธรรม
สมุทรปราการ
สระแก้ว
• อุตสาหกรรมเป็ นมิตร
กับสงิ่ แวดล ้อม
เพือ
่ การสง่ ออก*
• ฐานอุตสาหกรรม
(Eco - Industrial
และศูนย์กลางการ
Town)
ขนสง่ และกระจาย
ิ ค ้า*
สน
ปราจีนบุร ี
ฉะเชงิ เทรา
• เมืองแห่งพืชพลังงาน
(Energy Green City)**
ิ ค ้าเกษตรเป็ นเลิศ
• สน
(มะม่วง)*
• แหล่งการค ้าชายแดน*
กลุม
่ จ ังหว ัด
ภาคกลางตอนกลาง
Gateway to the World*
ู่ ารค ้าโลก”
“ประตูสก
• ฐานอุตสาหกรรม
และศูนย์กลางการ
ขนสง่ และกระจาย
ิ ค ้า*
สน
• เป็ นศูนย์กลางการค ้าการลงทุน การคมนาคม และการค ้าภาคตะวันออก
่ น
ของไทยสูอ
ิ โดจีน *
• เป็ นแหล่งท่องเทีย
่ วทางธรรมชาติ วัฒนธรรมและประวัตศ
ิ าสตร์ *
ิ ค ้าเกษตรมาตรฐานสากล *
• เป็ นแหล่งผลิตสน
• ศูนย์กลางการ
ท่องเทีย
่ วเชงิ
นิเวศ *
• ท่องเทีย
่ วทางธรรมชาติ
และสุขภาพ *
• เมืองท่องเทีย
่ วน่าอยู*
่
• จังหวัดอัจฉริยะต ้นแบบ
ระดับสากล*
• เมืองอุตสาหกรรม
สเี ขียว*
*
นครนายก
รักษาฐานรายได ้เดิม
** สร ้างฐานรายได ้ใหม่
7
การวิเคราะหข
ั การพัฒนาจังหวัดทีส
่ อดคลองกั
บ
้ ลตัวชีว้ ด
้
์ อมู
ยุทธศาสตรประเทศแต
ละด
าน
่
้
์
ผลิตภัณฑมวลในจั
งหวัดฉะเชิงเทรา
์
สาขาการผลิต (%)
2550
2551
2552
2553
2554
เกษตรกรรม
5.6
6.5
7.1
6.1
7.1
ประมง
1.1
1.0
1.1
0.8
0.7
เหมืองแร่
0.1
0.3
0.1
0.1
0.1
อุตสาหกรรมการผลิต
67.0
66.7
63.0
67.5
66.7
ไฟฟ้าและประปา
2.7
2.4
3.0
2.9
2.9
การกอสร
าง
่
้
1.8
1.5
2.0
2.3
2.3
การขายส่งและขายปลีก
10.8
10.7
11.0
10.2
10.1
โรงแรมและภัตตาคาร
0.2
0.1
0.1
0.2
0.2
การขนส่งและการสื่ อสาร
2.7
3.1
3.5
2.8
2.5
สื่ อการทางการเงิน
1.4
1.3
1.6
1.2
1.3
บริการดานอสั
งหาริมทรัพย ์
้
2.7
2.1
2.5
1.9
1.7
ผลิตภัณฑมวลจั
งหวัดตอคน
ปี 2554
์
่
ผลิตภัณฑมวลรวมจั
งหวัดตอคน
ณ ปี 2554
์
่
400,000.0
350,000.0
300,000.0
250,000.0
340,915.8
327,383.5
308,520.3
268,041.6
278,815.6
247,190.5
217,815.7
215,531.8
200,000.0
150,000.0
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
ทีม
่ า:
สศช.
ผลิตภัณฑมวลรวมจั
งหวัดตอคนในจั
งหวัดฉะเชิงเทรา ใน ปี 2554
์
่
อันดับที่ 3 ของกลุมจั
่ งหวัดภาคกลางตอนกลาง รองจากจังหวัด
สมุทรปราการและจังวัดปราจีนบุร ี
2554
เปรียบเทียบผลิตภัณฑมวลจั
วหสั ดตอคน
ณ
์
่
ปี 2554
550,000
ลานบาท
้
500,000
450,000
400,000
350,000
300,000
250,000
200,000
150,000
100,000
50,000
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
215,531.
217,815.
247,190.
278,815.
308,520.
268,041.
327,383.
340,915.
พระนครศรีอยุธยา 279,464.
297,330.
316,509.
360,292.
455,173.
399,746.
454,325.
379,973.
ปทุมธานี
240,071.
245,142.
294,828.
302,705.
342,362.
365,484.
397,066.
340,478.
ปราจีนบุรี
233,811.
281,982.
307,943.
379,744.
432,942.
426,898.
483,345.
414,521.
นครปฐม
139,238.
147,926.
163,105.
153,137.
161,660.
160,789.
177,481.
187,723.
ฉะเชิงเทรา
ทีม
่ า:
สศช.
ตาแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2557-2560
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมขนส่ ง
ชิ้นส่ วนยายยนต์
ผลิตภัณฑ์ เกษตร
ข้าว มะม่วง มันสาปะหลัง
ปศุสัตว์ ไก่ไข่ สุ กร ไก่เนื้อ
ท่ องเทีย่ ว
OTOP
เชิงศาสนา เชิงวิถีชีวิต
มะม่วง มะม่วง
กวน
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
ศูนย์กลางการขนส่ งภาคตะวันออก
• GPP : มีมูลค่ า GPP สู งเป็ นอันดับ 2 ของกลุ่ม แต่ มูลค่ า GPP จากสาขาเกษตรกรรมสู ง
เป็ นอันดับแรกของกลุ่ม
• ในด้ านเกษตรกรรมนั้น GPP เกือบทั้งหมดคิดเป็ นมูลค่ า 6.12% มาจากการเพาะปลูกและ
ปศุสัตว์ และอีกเพียง 1.08% มาจากการประมง
เกษตรกรรม
900,000
800,000
700,000
600,000
500,000
400,000
300,000
200,000
100,000
-
กลุ่มภาคกลาง
ตอนกลาง
ฉะเชิ งเทรา
ปราจีนบุรี
นครนายก
สมุทรปราการ
สระแก้ว
เกษตร-เพาะปลูก
33,157
12,419
7,334
3,648
937
8,819
เกษตร-ประมง
4,878
2,200
430
196
1,973
79
อุตสาหกรรมการผลิ ต
569,550
140,782
22,305
1,312
401,060
4,091
ค้าส่ง-ค้าปลีก
80,298
18,848
23,618
3,677
25,199
8,956
โรงแรม-ร้านอาหาร
13,486
386
367
637
11,978
118
ไฟฟ้ า แก๊สและแหล่งน้า
18,947
4,584
1,475
465
11,821
602
คมนาคมขนส่ง/สื่อสาร
109,624
5,795
1,477
1,031
100,257
1,064
ที่มา: ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด พ.ศ. 2552, สศช.
Zoning
แหล่งผลิต
สินค้าเกษตร
GREEN INDUSTRY
Cluster ยานยนต์และ
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้อง
ZONE
พืน้ ที่ด้านเกษตรมากกว่า 50% ใช้ในการปลูกมันสาปะหลัง และรองลงมา
ใช้ในการปลูกข้าว และพืชเศรษฐกิจสาคัญ ได้แก่ มันสาปะหลังได้ปริมาณ
มากที่สดุ รองลงมา คือ ข้าว อ้อย และมะม่วง
เกษตรกรรม
 ฉะเชิงเทราผลิตมันสาปะหลังได้ ปริมาณมากที่สุด รองลงมา คือ ข้ าว อ้อย และมะม่ วง
 ฉะเชิงเทราผลิตมันสาปะหลังได้ 1,097,415 ตัน
2
1
3
4
พืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้นสาคัญ (ตัน)
ข้าว
จานวน
มัน
อ้อย ยางพารา มะม่วง มะพร้าว
โค
ทัง้ หมด
สาปะหลัง
1,089,265 1,097,415 245,903
20,828 40,933
ปศุสตั ว์ที่สาคัญ (ตัว)
ไก่
เป็ ด
ไข่ไก่
สุกร จระเข้ จานวนทัง้ หมด
30,840 2,525,184 27,544 25,399,890 2,134,5501,466,523,394 58,167 7,890 1,494,127,413
ที่มา: ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2552, สานักงานคลังจังหวัดฉะเชิงเทรา
BCG สิ นค้าเกษตรที่สาคัญ
สุกร
ไข่ไก่
ข้ าว
มันสาปะหลัง
มะม่วง
เกษตรกรรม
ชนิ ดพืช
ผลผลิตต่อไร่ในการเพาะปลูก ปี 2554 ข้าวนาปรังสูงกว่าข้าวนาปี แต่
ผลผลิตรวมของข้าวต่อไร่ในจังหวัดน้ อยกว่าการผลิตมันสาปะหลัง
เนื้ อที่เพาะปลูก (ไร่)
ปี 2552
ข้าวนาปี
ปี 2553
ผลผลิ ต (ตัน)
ปี 2554
ปี 2552
ปี 2553
ผลผลิ ตต่อไร่ (กิ โลกรัม)
ปี 2554
ปี 2552
ปี 2553
ปี 2554
1,029,199
953,198
731,501 750,264.80
719,482 517,338.11
755
762
718.19
ข้าวนาปรัง
399,842
379,183
491,649
297,488 420,023.40
849
802
847.11
มันสาปะหลัง
298,974
312,606
307,580 1,097,415 1,204,559
974,556
3,671
3,853
3,307
71,889
70,159
22,672
594
598
645
มะม่วง
41,151
339,602
40,933
40,252
มะมวง
โดยสถิตป
ิ ี 2553
่
ทีม
่ า: ขอมู
้ ฐานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2553
้ ลพืน
ปี 2553
มะมวง
่
แหลงผลิ
ต
่
5 อันดับ
แรก
นครราชสี มา/
สุพรรณบุร/ี
ฉะเชิงเทรา/
อุดรธานี/ อุทย
ั ธานี
18
แหลงเพาะเลี
ย
้ งปลาสวยงามและพรรณ
่
ไม้น้าของประเทศไทย
ปี 2553
ปลาสวยงานและพรรณไม้
น้า
แหลงผลิ
ต
่
5 อันดับ
แรก
กรุงเทพฯ ราชบุร ี
นครปฐม
สุพรรณบุร ี ฉะเชิงเทรา
19
เกษตรกรรม
ผลผลิตไข่ไก่และจานวนไก่ไข่สงู เป็ นอันดับ 1 ของประเทศ
จานวนไก่ไข่ (ตัว)
ภาค/จังหวัด
ฉะเชิงเทรา
พระนครศรีอยุธยา
ชลบุรี
อุบลราชธานี
เชียงใหม่
ปริมาณไข่ไก่ (1,000 ฟอง)
Number of layer hens (Bird)
Production of hen eggs (1,000 units)
2548
2549
2550
2548
2549
2550
2005
2006
2007
2005
2006
2007
4,674,706 5,101,677 5,503,108 1,233,991 1,499,242 1,628,183
2,971,927 3,262,249 3,250,831
724,642
727,643
698,679
1,500,253 1,873,016 2,038,092
435,674
533,697
569,549
1,598,723 1,909,355 2,051,220
490,902
550,364
541,212
1,594,811 1,823,198 1,895,655
391,765
426,785
475,151
เกษตรกรรม
ผลผลิตสุกรสูงเป็ นอันดับ 3 ของประเทศ
ภาค/จังหวัด
ราชบุรี
นครปฐม
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
นครราชสีมา
จานวนสุกร (ตัว)
Number of swine (Heads)
2548
2549
2550
2005
2006
2007
1,273,277 1,363,298 1,509,035
1,015,998
977,288 1,080,099
508,497
534,685
602,269
339,464
322,559
361,234
314,692
303,017
341,197
ปริมาณการผลิต (ตัว)
Production (Heads)
2548
2549
2550
2005
2006
2007
1,537,668 1,732,916 1,846,075
1,579,937 1,739,411 1,809,509
807,477
896,087
884,707
525,103
569,523
599,879
482,713
510,581
487,554
ทรัพยากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
• จังหวัดฉะเชิงเทรามีแหล่ งนา้ ธรรมชาติทสี่ าคัญ คือ
• แม่ นา้ บางปะกง ห้ วย ลาธาร คลอง รวมทั้งสิ้น 762 สาย ในจานวนนีม้ นี า้ ให้ ใช้ ได้ ใน
ฤดูแล้ ง จานวน 745 สาย
• มีหนอง บึง อีกจานวน 167 แห่ ง ใช้ งานได้ ในฤดูแล้ ง 166 แห่ ง
• มีนา้ พุ นา้ ซับ 9 แห่ ง มีนา้ ในฤดูแล้ งทั้ง 9 แห่ ง
• อืน่ ๆ อีก 179 แห่ ง ใช้ งานได้ ในฤดูแล้ ง 178 แห่ ง
• แหล่ งนา้ ชลประทานภายในจังหวัด ประกอบด้ วย แหล่ งนา้ ตามโครงการชลประทานขนาด
ใหญ่ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และโครงการ
ชลประทานขนาดเล็กทีส่ ร้ างแล้ วเสร็จถึงปี งบประมาณ 2553 รวม 154 โครงการ สามารถ
เก็บกักนา้ ได้ 484.61 ล้ านลูกบาศก์ เมตร มีพนื้ ทีไ่ ด้ รับประโยชน์ จากโครงการ 1,142,862 ไร่
หรือร้ อยละ 35.02% ของพืน้ ที่ถือครองทางการเกษตรของจังหวัด
• แหล่ งนา้ จากการพัฒนาภายในจังหวัด ประกอบด้ วย แหล่ งนา้ ตามโครงการชลประทาน
ขนาดใหญ่ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และ
โครงการชลประทานขนาดเล็กทีส่ ร้ างเสร็จแล้ ว
ทรัพยากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
สถานการณ์และประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
• แม่น้าบางปะกง : ปัญหาการขาดแคลนน้า ปัญหาการรุกลา้ ของน้าเค็มในช่วงฤดูแล้ง
• คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล : ความยาวของชายฝัง่ ทะเลประมาณ 15 กม. เป็ นที่ตงั ้ ของ
แหล่งอุตสาหกรรม ชุมชน เกษตรกรรม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและแหล่งทรัพยากร
ตลอดจนเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญ มีการพัฒนาและขยายตัวของกิจกรรมต่างๆ อย่าง
รวดเร็ว เช่น แหล่งชุมชน ที่พกั อาศัย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝัง่ การเลี้ยงกุ้งกุลาดา เป็ น
ต้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้าทะเลชายฝัง่
• มลพิษทางน้า ได้แก่ น้าเสียชุมชน น้าเสียจากเกษตรกรรม น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
• มลพิษด้านขยะมูลฝอย : การกาจัดขยะมูลฝอยของ อปท. ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ไม่
ถูกหลักสุขาภิบาล
• มลพิษทางอากาศ : ปัญหาก๊าซโอโซนและฝุ่ นขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน มีค่าเกิน
มาตรฐานบางครัง้ จากแหล่งกาเนิดมลพิษ 3 กลุ่ม คือ โรงงานอุตสาหกรรม ยานพาหนะ
อื่นๆ (การเผาขยะของชาวบ้าน การทิ้งวัสดุเหลือใช้จากกิจกรรมต่างๆ เช่น ฟางข้าว เป็ น
ต้น)
• มลพิษทางเสียง : จากแหล่งกาเนิด 2 กลุ่ม ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมและสถาน
ประกอบการ ยานพาหนะ
• สิ่งแวดล้อมเมือง : การพัฒนาพื้นที่ชายฝัง่ ทะเลตะวันออก ก่อให้เกิดการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันก็นามาซึ่งปัญหาบางประการ เช่น เมืองเติบโตแบบไร้ทิศทาง
ขาดการวางผังเมืองที่ดี ขาดแคลนที่พกั อาศัยที่เหมาะสม การให้บริการสาธารณูปโภคไม่
เพียงพอ
• กากสารพิษและสารอันตราย : การลักลอบทิ้งสารเคมีที่ผ่านกระบวนการทางอุตสาหกรรม
โดยไม่มีการบาบัดที่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ
สถิตคิ ดีอาญาที่น่าสนใจ จาแนกตามประเภทความผิด พ.ศ. 2550
– 2553
ประเภทความผิด
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
รับแจ้ง จับได้(ราย) รับแจ้ง(ราย) จับได้ (ราย) รับแจ้ง(ราย) จับได้(ราย)
(ราย)
คดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ
89
54
57
36
57
43
คดีประทุษร้ายต่อชีวิต ร่ างกาย และเพศ
386
174
415
238
358
257
คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์
1,055
479
953
372
1,066
449
คดีที่น่าสนใจ
คดีที่รัฐเป็ นผูเ้ สี ยหาย
463
97
3,836 5,417
588
5,984
100
5,984
662
4,248
186
5,645
เปรียบเทียบพืน
้ ทีป
่ ่ าชายเลนในเขตภาค
ตะวันออก
2539
ตร.
จังหวัด กม. ไร่
2543
ตร.
กม.
ไร่
2545
ตร.
กม.
ไร่
2547
ตร.
กม.
ไร่
2552
ตร.
กม.
ไร่
ตราด
47,087.
75.3
0
95.2 59,482.0 79.3 49,533.0 103.7 64,816.0 99.2 61,974.0
จันทบุร ี
24,332.
38.9
0
120.9 75,580.0 75.0 46,885.0 89.8 56,106.0 120.7 75,429.0
ระยอง
6.6 4,103.0 18.8 11,764.0 9.5
ชลบุรี
0.9 575.0 7.1 4,461.0 3.0
ฉะเชิ
ทีม
่ างเท: กรมทรัพยากรทางทะเลและ
รา
ชายฝั่ง 4.8 3,016.0 17.4 10,917.0 4.8
รวม
5,946.0 16.2 10,450.0 18.1 11,284.0
1,900.0
4.5
2,781.0
8.9
5,554.0
3,016.0 12.7 8,031.0 11.7 7,309.0
79,113.
162,204.
107,280.
142,184.
161,550.
126.6
0
259.5
0
171.7
0
226.8
0
258.5
0
เขตป่ าสงวนและเขตรั กษาพันธ์ สัตว์ ป่า เขาอ่ างฤาไน
สภาพการกัดเซาะชายฝั่งทะเลใน ฝั่งอาว
่
ไทย
ลาดับ
จังหวัด
ความยาวของ แนวชายฝั่งถูกกัดเซาะ ร้อยละของแนว
ชายฝั่ง (กม.)
ชายฝั่งถูกกัด
(กม.)
เซาะ
ปาน
กลาง รุนแรง รวม
1 กทม.
5.81
2 สมุทรสาคร
42.78
3 นราธิวาส
57.76
4 สมุทรปราการ
50.21
5 ระยอง
104.48
6 เพชรบุร ี
91.73
7 นครศรีธรรมราช
244.99
8 ฉะเชิงเทรา
16.28
9 ปัตตานี
138.83
10 สงขลา
157.9
11 ประจวบคีรข
ี น
ั ธ์
246.75
12 ตราด
184.3
13 จันทบุร ี
102.25
14 สุราษฎรธานี
166.38
์
15 ชลบุร ี
171.78
16 ชุมพร
247.75
ทีม
่ 17
า : กรมทรั
พยากรทางทะเลและชายฝั25.2
่ง
สมุทรสงคราม
19.69
15.96
3.22
53.66
39.35
53.21
2.04
37.67
41.09
76.19
46.63
23.21
29.85
25.14
31.94
2.96
5.71
13.76
28.03
31.47
12
10.39
73.66
5.85
24.27
13.43
1.93
7.72
5.71
33.45
43.99
34.69
65.66
49.74
126.87
7.89
61.94
54.52
78.12
46.63
23.21
37.57
25.14
31.94
2.96
98.28
78.19
76.16
69.09
62.84
54.22
51.79
48.46
44.62
34.53
31.66
25.3
22.7
22.58
14.63
12.89
11.75
ปริมาณขยะมูลฝอยในภาคตะวันออก
ลาดับ
จังหวัด
ปริมาณขยะ ปี
2549
(ตัน/วัน)
ปริมาณขยะปัจจุบน
ั
(ตัน/วัน)
1
ชลบุรี
1,252.0
1,582.0 /1
2
ระยอง
527.0
764.0/2
3
ฉะเชิงเทรา
508.0
583.0 /3
4
สระแกว
้
364.0
435.0 /4
5
จันทบุร ี
389.0
412.0 /4
ทีม
่ า : /1 ขอมู
้ ลสารวจปริมาณขยะอปท. ของสานักทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดลอม
จังหวัดชลบุร ี ปี 2552
้
6
ตราด
151.0
/2 ขอมู
หารส่วนจั177.0
งหวัด /4
้ ลสารวจปริมาณขยะอปท. ขององคการบริ
์
ระยอง ปี 2553
3,191.0
3,953.0
/3 ขอมู
ลคาดการณปริ
2553 จากรายงานการศึ
กษา
้ รวม
์ มาณขยะปี
โครงการออกแบบรายละเอียดศุนยก
์ าจัด
มูลฝอยรวมแบบครบวงจรจังหวัดฉะเชิงเทรา
/4 ขอมู
้ ลคาดการณปริ
์ มาณขยะจากจานวนประชากรปี 2553 จา
พัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐาน
และปัจจัยพืน้ ฐาน
ส่ งเสริมและพัฒนาการเพิม่
ประสิ ทธิภาพการใช้ ทรัพยากร
พัฒนาขีดความสามารถของ
บุคลากร
พัฒนาระบบบริหาร
จัดการและป้ องกัน
ปัญหาสิ่ งแวดล้อม
พัฒนากลไกเพือ่ การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมย่ างยัง่ ยืน
พัฒนาระบบบริหารจัดการและ
กลไกกากับดูแลสิ่ งแวดล้ อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ส่ งเสริมบทบาทในการกากับดูแลการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้ อม
พัฒนาและปรับปรุง
ทรัพยากรธรรมชาติ
ส่ งเสริม สร้ างความ
ร่ วมมือ ด้ านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมย่ างยัง่ ยืน
บารุงรักษา ฟื้ นฟู เยียวยา
ทรัพยากรธรรมชาติ
ส่ งเสริมความร่ วมมือ
และขีดความสามารถ
ของ อปท. และภาคเอกชน
พัฒนาศูนย์ การเรียนรู้ และ
โครงการนาร่ อง
ประชาสั มพันธ์ และสร้ างความ
ตระหนักเพือ่ เตรียมความ
พร้ อมรองรับการเปลีย่ นแปลง
สภาพสิ่ งแวดล้อม
การทบทวนขอมู
ั
้ ลตัวชีว้ ด
มิตก
ิ าร
พัฒนา
ตัวชีว้ ด
ั - ข้อมูลและเหตุผลสนับสนุ น
• GPP ปี 2554 ขยายตัวรอยละ
2.3 โดยชะลอลง
้
มากจากปี กอนหน
่
้ า เนื่องจากการผลิต
ภาคอุตสาหกรรมซึงมีสัดส่วนรอยละ
70 ของ GPP
้
ไดรั
้ บผลกระทบจากภาวะชะงักงันของหวงโซ
่
่ อุปทาน
ในช่วงวิกฤตอุทกภัย ขณะทีภ
่ าคการบริการ
โดยเฉพาะโรงแรมและภัตตาคาร รวมถึงภาคการ
ขนส่งขยายตัวเรงขึ
้
่ น
Growth &
Competitiven • GPP ตอหัวอยูลาดับที่ 9 ของประเทศ ที่ 340,916
่
่
ess
บาท สูงกวาค
ย
่ ของประเทศ ซึง่ อยูที
่ าเฉลี
่
่ ่
155,926 บาท (ข้อมูล ณ สิ้ นปี 2554)
• ผลิตภาพแรงงานสูงกวาประเทศ
โดยแรงงานส่วน
่
ใหญอยู
่ ในภาคเกษตร
่
• รายไดจากการท
องเที
ย
่ วซึง่ มีสัดส่วนอยูในล
าดับที่ 8
้
่
่
ของภาคมีแนวโน้มเพิม
่ ขึน
้
• สั ดสวนคนจน รอยละ 7.94 ตา่ กวาคาเฉลีย
่
การทบทวนข้อมูลตัวชีว้ ด
ั (ตอ)
่
มิตก
ิ าร
พัฒนา
ตัวชีว้ ด
ั - ขอมู
้ ลและเหตุผลสนับสนุ น
Green
Growth
• พืน
้ ทีป
่ ่ าไมและป
้
่ าชายเลนเสื่ อมโทรมลง
เนื่องจากมีประชากรบุกรุกพืน
้ ทีป
่ ่ าเพือ
่ ทาไร่
เก็บของป่า ทาไมแปรรู
ป
้
• ครัวเรือนเขาถึ
11.5
้ งประปามีเพียงรอยละ
้
ตา่ กวาค
าเฉลี
ย
่ ประเทศ
่
่
Governm
• โครงสรางถนนอยู
ในสภาวะที
ม
่ ม
ี าตรฐาน ซึง่
ent
้
่
เหมาะแกการพั
ฒนาการผลิตใน
Efficiency
่
ภาคอุตสาหกรรม และบริการตอนื
่ ่องใน
อนาคต
ข้ อมูลสรุปความต้ องการและศักยภาพของประชาชน
ในท้ องถิ่น (อ้ างอิงแผนพัฒนาชุมชน)
ร้ อยละของประเด็นปั ญหาความต้ องการชุมชนที่สาคัญ
4%
ความปลอดภัยในชุมชน/การหลอกลวง
9%
33%
9%
เศรษฐกิจ/การประกอบอาชีพ/รายได้
สิง่ แวดล้ อมชุมชน
การศึกษา/การพัฒนาความรู้
19%
27%
รายละเอียดผลการสารวจที่สาคัญ
ความปลอดภัยในชุมชน/การ
หลอกลวง
ความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
ปัญหายาเสพติด
ปัญหาคนว่างงาน
อื่นๆ
สัดส่วน
ความสาคัญ (%)
40.70
26.74
16.28
16.28
100.00
เศรษฐกิจ/การประกอบอาชีพ/รายได้
สัดส่ วนความสาคัญ (%)
เกษตรกรมีรายได้ไม่เพียงพอ
39.41
ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ
20.00
ประชาชนขาดความรู ้ในการแปรรู ป
14.71
ผลผลิตทางการเกษตร
การสร้างคลองส่ งน้ า ทาให้น้ าท่วม บริ เวณ
12.35
ส่ วนบนของคลองส่ งน้ า และส่ วนล่างไม่มี
น้ า
ถนนชารุ ดและคลองตื้นเขิน
8.24
แหล่งน้ าทางเกษตรไม่เพียงพอ/ปัญหาขาด
5.29
แคลนน้ าเพื่อการเกษตร
100.00
สิ่ งแวดล้อมชุมชน
สัดส่วนความสาคัญ (%)
แม่น้ าลาคลองเน่าเสี ยเนื่องจาก ในลาคลองมีวชั พืชจานวนมาก
46.39
ปัญหาขยะมูลฝอย
ปัญหาดินเคลื่อนตามแนวชายฝั่งแม่น้ าบางปะกง
26.80
23.71
ช้างป่ าทาลายพืชของเกษตรกร
3.09
100.00
การวิเคราะห์ PEST Factor
ปัจจ ัยด้านการเมือง
• ระเบียบ กฎหมายในปั จจุบัน และในอนาคต
• นโยบายรัฐบาลในปั จจุบัน และในอนาคต
• กฎ ระเบียบ นโยบายของต่างประเทศใน
ปั จจุบัน-อนาคต
• ท่าทีกลุม
่ ผลประโยชน์ในประเทศ
และต่างประเทศ
• สงคราม-ความขัดแย ้งตามภูมภ
ิ าคต่างๆ
ของโลก
ฯลฯ
ั
ปัจจ ัยด้านสงคม
• ทัศนคติ-ค่านิยมผู ้บริโภค ทัง้ ภายใน-ภายนอก
• พฤติกรรมการใชจ่้ ายของผู ้บริโภค
• ประชากร: จานวน ชว่ งอายุ แนวโน ้ม
ื่ ต่างๆ
• บทบาทของสอ
• ความนิยม-แบบตัวอย่าง ของผู ้บริโภค
• มาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม ทัง้ ในและ
ต่างประเทศ (แรงงานเด็ก, Green ฯ )
ื้ ชาติ
• ปั จจัยด ้านศาสนา-เชอ
ฯลฯ
ปัจจ ัยด้านเศรษฐกิจ
•
•
•
•
•
ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก
ความผันผวนของเงินทุนเคลือ
่ นย ้าย
อุตสาหกรรมยานยนต์อยูใ่ นชว่ งปรับฐาน
ี น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
การลงทุนพัฒนาโครงสร ้างพืน
้ ฐานด ้านการขนสง่
2.2 ล ้านล ้านบาท
้ ด
• การจัดการการใชที
่ น
ิ เพือ
่ การเกษตร
(โซนนิง่ เกษตร)
ฯลฯ
ปัจจ ัยด้านเทคโนโลยี
• แนวโน ้มเทคโนโลยีด ้านคอมพิวเตอร์
ื่ สาร
• แนวโน ้มเทคโนโลยีด ้านการสอ
• แนวโน ้มเทคโนโลยีด ้านการคมนาคม ขนสง่
และโลจีสติคส ์
• แนวโน ้มเทคโนโลยีด ้านอุตสาหกรรม การผลิต
• การรักษาพยาบาล ยารักษาโรค อุตสาหกรรม
ความงาม
• แนวโน ้มเทคโนโลยีด ้านการก่อสร ้าง
ฯลฯ
34
S
•
•
•
•
O
ทาเลทีต
่ ง้ั เอือ
้ ประโยชนทุ
์ กดาน
้
(เชือ
่ มโยงกรุงเทพฯ และปริมณฑล
กับ “พืน
้ ทีเ่ ศรษฐกิจใหม”)
่
ความเขมแข็
งดานเกษตรกรรม
้
้
(ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย มะมวง
่
มะพร้าว และหมาก)
ความเขมแข็
งดานอุ
ตสาหกรรม
้
้
(อิเล็กทรอนิกส์ เครือ
่ งใช้ไฟฟ้า
รถยนตและส
์
่ วนประกอบ เป็ นตน)
้
เป็ นแหลงท
ย
่ วเชิงธรรมชาติและ
่ องเที
่
วัฒนธรรม
• โอกาสขยายฐานการผลิตและการ
ให้บริการทุกดาน
โดยเฉพาะ
้
ให้บริการดานการขนส
้
่ง
• โอกาสในการพัฒนาการทองเที
ย
่ ว
่
จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
• โอกาสในการพัฒนาไปสู่การเป็ น
เมืองน่าอยูอาศั
ยและการลงทุน
่
• โอกาสในพัฒนาเป็ นแหลงผลิ
ต/
่
แปรรูปอาหารทีส
่ าคัญของประเทศ
สู่สากล
• โอกาสในการเชือ
่ มโยง
อุตสาหกรรมตอเนื
่ ่ อง
W
•
•
•
•
•
T
••
•
•
•
•
ระบบการศึ กษาผลิตบุคลากรไม่
สอดคลองกั
บความตองการของ
้
้
ตลาดแรงงานในพืน
้ ที่
ระบบโครงสรางพื
น
้ ฐานไมเพี
้
่ ยงพอตอ
่
ความเจริญเติบโต
ทรัพยากรธรรมชาติถก
ู ทาลาย/ปัญหา
สิ่ งแวดลอม/ปั
ญหาขยะ
้
ปัญหาดานแรงงาน
เนื่องมาจากการ
้
ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
ปัญหาชีวต
ิ คุณภาพตกตา่ อยางต
อเนื
่
่ ่อง
โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองหนาแน่น
ปัญพหาความปลอดภั
ยในชี
ิ และ
ทรั
ยากรธรรมชาติ
และวต
พยสิ์ นอมมี
ในเขตชุ
มชนเมื
อง
สิทรั
่ งแวดล
แนวโน
้
้ มเสื่ อมโทรมลง
เนื่องจากการบุกรุก
กฎระเบียบไมเอื
้ ตอการพั
ฒนา
่ อ
่
คาแรงที
ส
่ ูงขึน
้ ส่งผลตอการย
่
่
้าย
ฐานการผลิต
ปัญหาขาดแคลนแรงงาน
(แรงงานฝี มอ
ื )
ความไมแน
่ ่ นอนของตลาดสิ นคา้
เกษตรและมาตรฐานสิ นคาเกษตร
้
อุตสาหกรรม (ปัญหาภูมอ
ิ ากาศ
35
ไมแน
่ ่ นอน ขาดระบบวัด
TOWS Matrix: SO (รุก)
จุดแข็ง (Strengths)
•
ทาเลทีต
่ ง้ั เอือ
้ ประโยชนทุ
่ มโยง
์ กด้าน (เชือ
กรุงเทพฯ และปริมณฑล กับ “พืน
้ ทีเ่ ศรษฐกิจ
ใหม”)
่
• ความเขมแข็
งดานเกษตรกรรม
(ขาว
มันสาปะ
้
้
้
หลัง ออย
มะมวง
มะพราว
และหมาก)
้
่
้
• ความเขมแข็
งดานอุ
ตสาหกรรม (อิเล็กทรอนิกส์
้
้
เครือ
่ งใช้ไฟฟ้า รถยนตและส
่ วนประกอบ เป็ น
์
ตน)
้
• เป็ นแหลงท
ย
่ วเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม
่ องเที
่
โอกาส
(Opportunities)
• ชุมชนรักถิน
่ ฐานและผูกพันในชุมชน
•
•
•
•
โอกาสขยายฐานการผลิตและการ
ให้บริการทุกดาน
โดยเฉพาะให้บริการ
้
ดานการขนส
้
่ง
โอกาสในการพัฒนาการทองเที
ย
่ วจาก
่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
โอกาสในการพัฒนาไปสู่การเป็ นเมืองน่า
อยูอาศั
ยและการลงทุน
่
โอกาสในพัฒนาเป็ นแหลงผลิ
ต/ แปรรูป
่
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO
•
•
•
•
ฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมทีส่ าคัญของ
ประเทศและเพือ่ การส่งออก
ศูนย์กลางกระจายสินค้าและบริการสู่
ภูมิภาคอืน่ ๆ (Distribution Center)
พัฒนาการเป็ นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรแปร
รูปสู่ตลาดโลก
พัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศน์และ
วัฒนธรรม
36
TOWS Matrix: ST (ป้องกัน)
จุดแข็ง (Strengths)
•
ทาเลทีต
่ ง้ั เอือ
้ ประโยชนทุ
(เชือ
่ มโยง
์ กดาน
้
กรุงเทพฯ และปริมณฑล กับ “พืน
้ ที่
เศรษฐกิจใหม”)
่
• ความเขมแข็
งดานเกษตรกรรม
(ขาว
มัน
้
้
้
สาปะหลัง ออย
มะมวง
มะพราว
และ
้
่
้
หมาก)
• ความเขมแข็
งดานอุ
ตสาหกรรม
้
้
(อิเล็กทรอนิกส์ เครือ
่ งใช้ไฟฟ้า รถยนต ์
และส่วนประกอบ เป็ นต้น)
• อุปสรรค
เป็ นแหล
งท
ย
่ วเชิงธรรมชาติและ
(Threats)
่ องเที
่
วัฒนธรรม
• ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอมมี
นวโน้ม
้ มแชน
• ชุมชนรักถิน
่ ฐานและผูกพันในชุ
•
•
•
•
เสื่ อมโทรมลงเนื่องจากการบุกรุก
คาแรงที
ส
่ งู ขึน
้ ส่งผลตอการย
ายฐานการผลิ
ต
่
่
้
ปัญหาขาดแคลนแรงงาน (แรงงานฝี มือ)
ความไมแน
่ ่ นอนของตลาดสิ นคาเกษตรและ
้
มาตรฐานสิ นค้าเกษตรอุตสาหกรรม (ปัญหา
ภูมอ
ิ ากาศไมแน
่ ่ นอน ขาดระบบวัดมาตรฐาน
สิ นค้าเกษตรทีเ่ ป็ นสากล)
พืน
้ ทีด
่ าเนินการยกระดับเป็ นสั งคมและชุมชน
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ ST
•
•
•
อนุ รกั ษ์ และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม
ยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตรเพือ่ พัฒนา
ไปสู่ตลาดสากล
ยกระดับคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยใน
ทรัพย์สิน
37
TOWS Matrix: WO (ปรับปรุง)
จุดอ่อน (Weaknesses)
•
ระบบการศึ กษาผลิตบุคลากรไมสอดคล
อง
่
้
กับความตองการของตลาดแรงงานในพื
น
้ ที่
้
• ระบบโครงสรางพื
น
้ ฐานไมเพี
้
่ ยงพอตอความ
่
เจริญเติบโต
• ทรัพยากรธรรมชาติถก
ู ทาลาย/ปัญหา
สิ่ งแวดลอม/ปั
ญหาขยะ
้
• ปัญหาดานแรงงาน
เนื่องมาจากการ
้
ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
• ปัญหาชีวต
ิ คุณภาพตกตา่ อยางต
อเนื
่
่ ่อง
โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองหนาแน่น
โอกาส
(Opportunities)
• ปัญ
หาความปลอดภัยในชีวต
ิ และทรัพยสิ์ น
ในเขตชุมชนเมือง
• โอกาสขยายฐานการผลิตและการให้บริการ
ทุกดาน
โดยเฉพาะให้บริการดานการ
้
้
ขนส่ง
• โอกาสในการพัฒนาการทองเที
ย
่ วจาก
่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
• โอกาสในการพัฒนาไปสู่การเป็ นเมืองน่าอยู่
อาศั ยและการลงทุน
• โอกาสในพัฒนาเป็ นแหลงผลิ
ต/ แปรรูป
่
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WO
•
•
•
•
ยกระดับคุณภาพสิ นค้าเกษตร
และลดตนทุ
่ เพิม
่ ขีด
้ นเพือ
ความสามารถทางการแขงขั
่ น
พัฒนาระบบโลจิสติกส์และ
โครงขายการคมนาคมขนส
่
่ งให้
มีประสิ ทธิภาพและไดมาตรฐาน
้
กาหนดความเหมาะสมในการ
จัดเตรียมพืน
้ ที่ รองรับภาค
การเกษตร อุตสาหกรรม
พาณิชยกรรม และLogistics
ยกระดับคุณภาพชีวต
ิ และการ
เขาถึ
้ งทรัพยากร
38
TOWS Matrix: WT (เปลีย่ นแปลง)
จุดอ่อน (Weaknesses)
•
ระบบการศึ กษาผลิตบุคลากรไมสอดคล
อง
่
้
กับความตองการของตลาดแรงงานใน
้
พืน
้ ที่
• ระบบโครงสรางพื
น
้ ฐานไมเพี
้
่ ยงพอตอ
่
ความเจริญเติบโต
• ทรัพยากรธรรมชาติถก
ู ทาลาย/ปัญหา
สิ่ งแวดลอม/ปั
ญหาขยะ
้
• ปัญหาดานแรงงาน
เนื่องมาจากการ
้
ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
อุปสรรค (Threats)
• ปัญหาดานคุ
ณภาพนี่ลดลงตา่ ลงตอเนื
้
่ ่อง
มชนเมื
องหนาแน่
น อมมี
• โดยเฉพาะในเขตชุ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ
่ งแวดล
้
แนวโน้มเสื่ อมโทรมลงเนื่องจากการบุกรุก
• กฎระเบียบไมเอื
้ ตอการ
่ อ
่
• คาแรงที
ส
่ งู ขึน
้ ส่งผลตอการย
ายฐานการ
่
่
้
ผลิต
• ปัญหาขาดแคลนแรงงาน (แรงงานฝี มอ
ื )
• ความไมแน
่ ่ นอนของตลาดสิ นคาเกษตร
้
และมาตรฐานสิ นคาเกษตรอุตสาหกรรม
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WT
•
•
•
ปรับปรุงการศึ กษาและยกระดับ
ฝี มือแรงงานเพือ
่ ผลิตบุคลากร
ให้สอดคลองกั
บความตองการ
้
้
ของตลาดแรงงานในพืน
้ ที่
ปรับปรุงโครงสรางพื
น
้ ฐานเพือ
่
้
รองรับการพัฒนา
ฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดลอม
้
39
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ฐานการผลิตสิ นคาอุ
่ าคัญของ
้ ตสาหกรรมทีส
ประเทศและเพือ
่ การส่งออก
ศูนยกลางกระจายสิ
นคาและบริ
การสู่ภูมภ
ิ าคอืน
่ ๆ
์
้
(Distribution Center)
พัฒนาการเป็ นแหลงผลิ
ตสิ นคาเกษตรแปรรู
ปสู่
่
้
ตลาดโลก
ทางเลื
อกประเด็นยุทธศาสตร์ ST
พัฒนาแหลงท
ย
่ วเชิงนิเวศนและวั
ฒนธรรม
่ องเที
่
์
อนุ รก
ั ษ์ และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดลอม
้
ยกระดับมาตรฐานสิ นค้าเกษตรเพือ
่ พัฒนาไปสู่
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WO
ตลาดสากล
ยกระดับคุณภาพชีวต
ิ และความปลอดภัยใน
ทรั
พยสิ์ บนคุณภาพสิ นคาเกษตรและลดตนทุนเพือ
ยกระดั
่
้
้
เพิม
่ ขีดความสามารถทางการแขงขั
่ น
พัฒนาระบบโลจิสติกส์และโครงขายการคมนาคม
่
ขนส่งให้มีประสิ ทธิภาพและไดมาตรฐาน
้
กาหนดความเหมาะสมในการจัดเตรียมพืน
้ ที่
รองรับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยก
รรม และLogistics
ยกระดับคุณภาพชีวต
ิ และการเขาถึ
้ งทรัพยากร
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WT
•
•
ปรับปรุงการศึ กษาและยกระดับฝี มอ
ื แรงงาน
เพือ
่ ผลิตบุคลากรให้สอดคลองกั
บความ
้
ตองการของตลาดแรงงานในพื
น
้ ที่
้
ปรับปรุงโครงสรางพื
น
้ ฐานเพือ
่ รองรับการ
้
พัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์
 พั ฒ น า ทุ น ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ
ความมัน
่ คงสู่สั งคมเป็ นสุข
 เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ
ยกระดับขีดความสามารถใน
การแข่งขัน ของภาคเกษตร
ปลอดภัย
 ฟื้ นฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ
และ สิ่ งแวดล้ อมให้ กลับ สู่
สมดุล
 พั ฒ น า ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง
นิ เ ว ศ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ด้
มาตรฐาน
 เพิ่ ม ขี ด ความสามารถการ
แข่งขัน ของภาคอุ ส าหกรรม
แล ะ พา ณิ ช ย ก ร ร ม ร อ40ง รั บ
แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2557 – 2560
ร่างวิสยั ทัศน์ : ศูนย์ กลางแห่ งบูรพาวิถีส่ ูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฐาน
อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเด่ น เป็ นเลิศสินค้ าเกษตร ท่ องเที่ยวเชิงนิเวศ
สังคมเป็ นสุข
เป้าประสงค์ : เศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ สังคมคุณภาพ สิ่งแวดล้อมมัน่ คง
ประชาชนเป็นสุ ข มีความพร้อมในการเข้าสู เ่ ศรษฐกิจอาเซียน และสากล
ประเด็น
ยุทธศาสตร์
การพัฒนา
จังหวัด
2557-2560
1
2
3
4
5
เพิ่ มขีด
ความสามารถ
การแข่งขัน
ของภาค
อุสาหกรรม
และพาณิ ชย
กรรมรองรับ
AEC และ
ตลาดโลก
เพิ่ ม
ประสิ ทธิ ภาพ
และยกระดับ
ขีดความ
สามารถในการ
แข่งขันของ
ภาคเกษตร
ปลอดภัย
พัฒนาการ
ท่องเที่ยว
เชิ งนิ เวศและ
วัฒนธรรมได้
มาตรฐาน
สากล
ส่งเสริ มการ
บริ หารจัดการ
ทรัพยากร
ธรรมชาติ และ
สิ่ งแวดล้อมให้
สมดุล
พัฒนาทุนทาง
สังคมและ
ความมั ่นคงสู่
สังคมเป็ นสุข
สรุปประเด็นยุทธศาสตร์
 พัฒนาทุนทางสั งคมและความมัน
่ คงสู่
สั งคมเป็ นสุข
 เพิ่ ม ประสิ ทธิ ภ าพและยกระดับ ขี ด
ความสามารถในการแขงขั
่ นของภาค
เกษตรปลอดภัย
 ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร
ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ
สิ่ งแวดลอมให
้
้กลับสู่สมดุล
 พัฒ นาการท่ องเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศและ
วัฒนธรรมไดมาตรฐาน
42
3.4
การจัดลาดับความสาคัญประเด็นยุทธศาสตร์
การเชื่อมโยง
Integration
ความเร่งด่วน
Urgency
ผลกระทบ
Potential Impact
ความเป็ นไปได้
Actionable
ความต้องการของ
ประชาชน
 เป็ นไปในทิศทางเดียวกับตาแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์หรือไม่?
 มีความจาเป็ นที่จะต้องเร่งพัฒนาหรือปรับปรุงใน 3-5 ปี ข้างหน้า ระดับไหน
 มีผลกระทบด้านบวกทั้งทางเศรษฐกิ จและสังคมต่ อจั งหวัดหรื อกลุ่มจั ง หวัด
ระดับไหน ?
 มีความเป็ นไปได้ที่จะประสบความสาเร็จ ระดับไหน ?
 ตรงกับความต้องการของประชาชนหรือไม่? ประชาชนให้ความสาคัญหรือไม่?
Acceptable
43
:“ศูนยกลางแห
งบู
ี ่ ประชาคมเศรษฐกิ
ู
จอาเซียน
์
่ รพาวิถส
อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเดน
่
สั งคมเป็ นสุข”
ประเด็นยุทธศาสตร ์ เดิม
ฐาน
เป็ นเลิศสิ นคาเกษตร
ทองเที
ย
่ วเชิงนิเวศ
้
่
ประเด็นยุทธศาสตร ์ ปรับใหม่
1. เพิม
่ ขีดความสามารถการ
1 พัฒนาทุนทางสั งคมและความ
แขงขั
่ นของภาค
อุสาหกรรมและ
มัน
่ คงสู่สั งคมเป็ นสุข
พาณิชยกรรมรองรับ AEC
และตลาดโลก
เพิม
่ ประสิ ทธิภาพและ
2. เพิม
่ ประสิ ทธิภาพและยกระดับ 2.
ขีด
ยกระดับขีด
ความสามารถในการแขงขั
่ น
ความสามารถในการ
ของภาค
แขงขั
เกษตรปลอดภัย
่ นของภาค
เกษตรปลอดภัย
3. ส่งเสริมการบริหารจัดการ
3. พัฒนาการทองเที
ย
่
วเชิ
ง
นิ
เ
วศ
่
ทรัพยากรธรรมชาติและ
และ
สิ่ งแวดลอมให
้
้กลับสู่
วัฒนธรรมไดมาตรฐาน
้
สมดุล
สากล
4.
ส่งเสริมการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดลอม
้
4.
พัฒนาการทองเที
ย
่ วเชิงนิเวศ
่
และ
วัฒนธรรมได้
มาตรฐาน
44
: ศูนยกลางแห
งบู
ี ่ ประชาคมเศรษฐกิ
ู
จ
่ รพาวิถส
์
อาเซียน
ฐานอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเดน
่
เป็ นเลิ
ศสิ
ทองเที
่ วเชิงนิเวศ สัแผนงาน/โครงการ
งคมเป็ นสุข
้
่ ทธ ์ ย
ประเด็
นนคาเกษตร
กลยุ
ยุทธศาสตร ์
พัฒนาทุนทาง
สั งคมและความ
มัน
่ คงสู่สั งคม
เป็ นสุข
เพิม
่
ประสิ ทธิภาพ
และยกระดับขีด
ความสามารถใน
1.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวต
ิ
ดานความปลอดภั
ยในชีวต
ิ และ
้
ทรัพยสิ์ น
2. ส่งเสริมโอกาสของประชาชนใน
การเขาถึ
้ งการศึ กษา ความรู้ อาชีพ
สุขภาพ และถายทอดความรู
ภู
่
้ มิ
ปัญญาทองถิ
น
่ เพือ
่ การดารงชีวต
ิ ทีด
่ ี
้
3.ส่งเสริมการมีส่วนรวมและปลุ
กจิต
่
อาสาของประชาชน/องคกร
์
ภาคเอกชน/ภาคประชาชนในสั งคมทุก
ภาคส่วนมีความสมานฉันท ์ และ
ประชาธิปไตย
1. โครงการติดตัง้ กลอง
CCTV ใน
้
พืน
้ ทีแ
่ ละเครือขาย
่
2. โครงการหมูบ
บเปลีย
่ น
่ านปรั
้
พฤติกรรมสุขภาพ
3. โครงการเสริมสรางอาชี
พและ
้
คุณภาพชีวต
ิ ผูด
้ อยโอกาส
้
4. โครงการสรางจิ
ตสานึกความ
้
รับผิดชอบตอสั
่ งคมแลสิ่ งแวดลอม
้
ในชุมชน
1. ปรับปรุงดินทีเ่ สื่ อมโทรม/ดินเปรีย
้ ว
ให้มีความอุดมสมบูรณ ์
2.ดาเนินการจัดหาและผันน้าจากพืน
้ ที่
ทีม
่ น
ี ้าต้นทุนมากสู่พืน
้ ทีท
่ ม
ี่ น
ี ้าน้อย
3. เพิม
่ ประสิ ทธิภาพปัจจัยการผลิตและ
1. โครงการพัฒนาการเกษตรภายใต้
พืน
้ ทีบ
่ ริหารจัดการน้าจังหวัด
ฉะเชิงเทรา
2. โครงการเพิม
่ ประสิ ทธิภาพการ
ผลิตดานการเกษตร
้
45
3. โครงการ ลดต้นทุนการผลิตและ
ประเด็น
ยุทธศาสตร ์
ส่งเสริมการบริหาร
จัดการ
ทรัพยากรธรรมชา
ติและสิ่ งแวดลอม
้
ให้กลับสู่สมดุล
พัฒนาการ
ทองเที
ย
่ วเชิงนิเวศ
่
และวัฒนธรรมได้
มาตรฐาน
กลยุทธ ์
แผนงาน/โครงการ
1. บริหารจัดการน้า และอนุ รก
ั ษ์ 1. โครงการอนุ รก
ั ษและป
์
้ องกันการ
พืน
้ ฟูแหลงน
่ าคัญ และชายฝั่ง
พังทลายของชายฝั่งทะเล (360
่ ้าทีส
ทะเล
ม./ปี )
2. เสริมสรางจิ
ตสานึกในการรักษา
้
2. โครงการกาจัดวัชพืชในคลอง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม
้
ธรรมชาติ
3. ส่งเสริมสนับสนุ นให้ทุกภาคส่วนมี
3. โครงการอนุ รก
ั ษ์ และฟื้ นฟู
ส่วนรวมในการอนุ
รก
ั ษ์
่
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม
้
4. โครงการสรางเครื
อขายเฝ
้
่
้ าระวัง
สิ่ งแวดลอม
และภัยพิบต
ั ท
ิ าง
้
ธรรมชาติ
1. พัฒนาแหลงท
ย
่ วและการ
่ องเที
่
บริการให้ไดมาตรฐาน
้
2. ส่งเสริมการตลาดและการ
ประชาสั มพันธท
ย
่ ว
์ องเที
่
3. สรางส
้ ่ งเสริมและพัฒนาบุคลากร
ดานการท
องเที
ย
่ ว
้
่
1. โครงการพัฒนาแหลงท
ย
่ วที่
่ องเที
่
มีศักยภาพและโครงขายคมนาคม
่
2. โครงการประชาสั มพันธการ
์
ทองเที
ย
่ วเพือ
่ รองรับการเขาสู
่
้ ่
ประชาคมอาเซียน (AEC)
3. โครงการพัฒนาบุคลากรทางการ
46
ทองเทีย
่ ว
ประเด็น
ยุทธศาสตร ์
เพิม
่ ขีด
ความสามารถ
การแขงขั
่ น
ของภาค
อุสาหกรรม
และพาณิชยก
รรมรองรับ
AEC และ
ตลาดโลก
กลยุทธ ์
1. พัฒนาระบบโครงสร้ างพื้นฐานรองรับการขยายตัวของ
ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมเพื่อเตรียมเข้ าสู่ AEC
2. ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิต ที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม พัฒนา
ฝี มือแรงงาน และสร้ างนวัตกรรมสินค้ าอุตสาหกรรมให้ ได้
มาตรฐาน
3. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชน
แผนงาน/โครงการ
1.
2.
3.
โครงการเพื่อกาหนดความเหมาะสมใน
การจัดเตรียมพื้นที่ รองรับภาค
การเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม
และ Logistics
โครงการยกระดับมาตรฐาน และสร้ าง
นวัตกรรมสินค้ าอุตสาหกรรมของ
SMEs ให้ สามารถแข่งขันได้ ใน AEC
โครงการพัฒนาทักษะฝี มือแรงงานให้
ได้ มาตรฐานเข้ าสู่ AEC
47
รายชื่อคณะทีป่ รึกษาและนักวิจัยของ RDG
นายมนุชญ์ วัฒนโกเมร ที่ปรึ กษาอาวุโส
น.ส.ทัศนีย ์ ดุสิตสุทธิรัตน์ ที่ปรึ กษา
นายนิคม เกิดขันหมาก ที่ปรึ กษา
นายศิวะ ศิริเสาวลักษณ์ ที่ปรึ กษา
นายพินิจ พิชยกัลป์ ที่ปรึ กษา
นายสุพจน์ ลาภปรารถนา ผูอ้ านวยการโครงการ
ดร.บัญชร ส่งสัมพันธ์ นักวิจยั อาวุโส
จากทีมงาน RDG
ดร.ยุทธศักดิ์ สุภสร นักวิจยั อาวุโส
ดร.ปรี ยา ผาติชล นักวิจยั อาวุโส
ดร.สุรัตน์ ตันเทอดทิพย์ นักวิจยั อาวุโส
Reengineering & Development Group (RDG)
น.ส.ดารัตน์ บริ พนั ธกุล นักวิจยั อาวุโส
• คือการรวมตัวของเหล่านักวิชาการหลากหลายสาขา ที่มีความ
น.ส. อรนุช เฉยเคารพ นักวิจยั อาวุโส
ชานาญด้ านการจัดทายุทธศาสตร์ การวิเคราะและปรับระบบ
น.ส. ไปยดา หาญชัยสุขสกุล นักวิจยั อาวุโส
องค์การ และการจัดทาเวิร์คช็อป การฝึ กอบรม เพื่อเพิ่ม
น.ส. วิภาพร เอี่ยมศิลา นักวิจยั อาวุโส
สมรรถนะบุคลากรในองค์การ
น.ส. ลัดดาวัลย์ ราชุรัชต นักวิจยั อาวุโส
• ปี 2554 RDG ก็คือ RDC (Regional Development Center)
นายอิทธิศกั ดิ์ ลือจรัสไชย นักวิจยั อาวุโส
ซี่งเป็ นพันธมิตรกับสถาบัน IGP ของสานักงาน ก.พ.ร.
น.ส. ตรี รินทร์ เฟื่ องอารมณ์ นักวิจยั
• ปี 2555 RDC ได้ แยกตัวออกมา และเป็ นพันธมิตรกับสถาบัน
นายดรัณ วิศวกรรม นักวิจยั
วิชาการทุกสถาบัน
นายบุญชาต ชัยปาริ ฉตั ร์ นักวิจยั
• ต้ นปี 2556 RDC ได้ Rebranding เป็ น RDG
น.ส. กนลรัตน์ เหลืองสด นักวิจยั
หรื อ Reengineering & Development Group
ติดต่อ RDG
นายสุพจน์ ลาภปรารถนา
088-670-3335; 081-622-6755
ผลงานที่แล้ วเสร็จ ในปี 2555
 โครงการแปลงแผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทยสูก่ ารปฏิบตั ิ
เชิงพื ้นที่ใน 10 จังหวัด ของสานักงานสถิติแห่งชาติ
 โครงการเสริ มสร้ างความความสามารถของชุมชนเพื่อ
การมีสว่ นร่วม ขององค์การบริ หารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี
โครงการเตรี ยมความพร้ อมจังหวัดนครราชสีมาเข้ าสูป่ ระชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี
(พ.ศ.2557-2560) และแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี 2557
 โครงการจัดทาแผนพัฒนากลุม่ จังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี
(พ.ศ.2557-2560) และแผนปฏิบตั ิราชการกลุม่ จังหวัดภาคกลาง
ตอนกลางประจาปี งบประมาณ 2557
 โครงการจัดทาแผนปฏิบตั ิการเตรี ยมความพร้ อมรองรับประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2558 ของจังหวัดลพบุรี (พ.ศ.2555)
 โครงการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา 4 ปี พ.ศ.2557-2560
 โครงการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี 4 ปี พ.ศ.2557-2560
 โครงการเตรี ยมความพร้ อมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(AEC) และจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม 4 ปี พ.ศ.2557-2560
 โครงการสามัคคีสร้ างความปลอดภัย ของจังหวัดสุพรรณบุรี
โครงการ ที่กาลังดาเนินการอยู่ใน ปี 2556
 โครงการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทราประจาปี พ.ศ.2558
 โครงการแปลงแผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทยสูก่ ารปฏิบตั ิเชิง
พื ้นที่ใน 2 กลุม่ จังหวัด ของสานักงานสถิติแห่งชาติ
 โครงการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพกรมการท่องเที่ยว
 โครงกาฝึ กรอบรม T-expert กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
 โครงการฝึ กอบรม T-pro กระทรวงการท่องทัย่ วและกีฬา
 โครงการจัดตังงานเศรษฐกิ
้
จสร้ างสรรค์เป็ นองค์การมหาชน
ผลงานที่เสร็จแล้ ว ในปี 2554
•โครงการจัดทาแผนปฏิบติราชการประจาปี 2556 จ.ลพบุรี
•โครงการจัดทาแผนปฏิบติราชการประจาปี 2556 จ.สุพรรณบุรี
•โครงการจัดทาแผนปฏิบติราชการประจาปี 2556 ภาคกลาง
ตอนบน 2
•โครงการจัดทาแผนปฏิบติราชการประจาปี 2556 จ.นครปฐม
•โครงการพัฒนาระบบบริ หารสินค้ าคงคลังและการขนส่ง
กลุม่ ภาคกลางตอนบน 2
48