Download this file (chapter2_Basic-to-c.ppt)
Download
Report
Transcript Download this file (chapter2_Basic-to-c.ppt)
บทที่ 2 การใช้ คาสั่ งพืน้ ฐานของภาษา C#
อาจารย์ ชนิดา คาเพ็ง
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
SharpDevelop เครื่ องมือพัฒนาแอพพลิเคชัน
SharpDevelop เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาโปรแกรม.NET แบบ
OpenSource โดยมีคุณสมบัติหลักดังต่อไปนี้
สร้าง/แก้ไข/บันทึก โปรแกรมที่เขียนด้ วยภาษา C# ได้
คอมไพล์ (แปล) และรันโปรแกรมภาษา C#
สนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมทั้งแบบ Console Application ,
Windows Application , Mobile Application และ ASP.NET
Application
รองรับ 3 ภาษา ได้แก่ C#,VB.NET,Boo
ติดตั้ง Sharp Develop 3.0
หรื อ download ได้ที่ http://www.icsharpcode.net/OpenSource/SD/Download/
Solution, Project และ Form
การสร้าง Application จะเรี ยกว่า Solution ซึ่ งประกอบด้วย
Project ต่างๆ แต่ละโปรแกรมจะมีฟอร์มต่างๆ และมีไฟล์ชนิด
ต่างๆ
Solution คือ กลุ่มของ Project (หรื ออาจจะมี Project เดียว)ที่ถูก
จัดการไปพร้อมๆ กัน
Project คือ กลุ่มของไฟล์ต่างๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้ทาภารกิจ
หนึ่งๆ
New Project Dialog
ชนิดของโปรเจ็กต์
ส่ วนประกอบของหน้ าจอโปรแกรม
Menu bar
Toolbar
Solution
Explorer
Toolbox
Windows Form
Designer
Properties
Window
IDE (Integrated Development Environment)
IDE – Integrated Development Environment คือ สภาพของการพัฒนาโปรแกรม
โดยรวมทั้ง Editor , Complier , Debugger ตลอดจนเครื่ องมือที่ใช้ในการออกแบบ และ
ติดต่อฐานข้อมูล ประกอบด้วยส่ วนต่างๆ ดังนี้
เมนูบาร์ (Menu Bar) : ส่ วนที่ใช้เก็บคาสั่ง โดยแบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่อย่างชัดเจน
ทูลบาร์ (Toolbar) :ส่ วนที่ใช้เก็บปุ่ มคาสั่งลัดต่างๆ
ทูลบ็อกซ์ (Toolbox): ส่ วนที่ใช้เก็บคอนโทรล/คอมโพเนนต์เพื่อการสร้างแอพพลิเคชัน
Form Designer : ส่ วนที่ใช้ในการออกแบบหน้าตาของแอพพลิเคชัน
Properties Window : ส่ วนที่ใช้กาหนดคุณสมบัติของ Object และ Control ชนิดต่างๆ
Solution Explorer : ส่ วนที่ใช้เก็บองค์ประกอบต่างๆ ของSolution (Solution จะ
ประกอบไปด้วยไฟล์ชนิดต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการทางานและควบคุมแอพพลิเคชัน)
Code Editor : ส่ วนที่เราใช้เขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานแอพพลิเคชัน
ตัวอย่ างการสร้ างแอพพลิเคชันแบบ Console
แอพพลิเคชันแบบ Console คือ การแสดงผลการทางานในโหมดของ
ดอส ซึ่งรับคาสัง่ ด้วยการพิมพ์คาสัง่
ตัวอย่ าง
โครงสร้ างของโปรแกรม C#
รู ปแบบ Class <Identifier> {…….}
namespace HelloW {
class HelloWClass {
static void Main () {
System.Console.WriteLine("Hello World!");
System.Console.ReadLine();
}
}
}
method Main
method จะต้องอยูใ่ น class
class จะต้องอยูใ่ น namespace
โครงสร้ างของโปรแกรม C#
C#
โปรแกรมจะประกอบด้ วยหลาย namespaces
Namespace ประกอบด้ วยหลาย classes
class ประกอบด้ วยหลาย methods
method1
method2
Class
namespace
method2
Class
โครงสร้ างของโปรแกรม C#
Your Namespace Name
Your Class Name
Your declaration part
Your statements
13
C# Overvie
ตัวอย่ าง ชนิดโปรเจ็กที่เลือก Console Application
โครงสร้ างของโปรแกรม C#
namespace HelloW {
class HelloWClass {
static void Main () {
System.Console.WriteLine("Hello World!");
System.Console.ReadLine();
}
}
}
โปรแกรมจะต้ องประกอบด้ วยอย่ างน้ อย 1 Namespace
หลักการตั้งชื่ อ namespaces , class และตัวแปร
ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร, underscore (_) หรื อ @
ห้ามใช้ตวั เลข หรื ออักขระเป็ นตัวเริ่ มต้น
ใช้ตวั อักษร, ตัวเลข และ underscores(_) ในการตั้งชื่อได้
ตั้งได้ไม่เกิน 63 ตัวอักษร
ต้องไม่เป็ นคาสงวน (reserved word)
* Case Sensitive *
Example
URU01 ≠ uRu01 ≠ uru01
คาสงวนของภาษา C# (Reserved Words)
พิจารณาชื่ อตัวแปรต่ อไปนีว้ ่ าถูกต้ องตามกฎการตั้งชื่ อหรื อไม่
_Y
Null
String
204111Class
i_j
Section3
Student ID
sECTION3
HelloWorld!!
w*h
first-time
do
C# Program
C# syntax is case-sensitive
ทุก statement จบด้วยเครื่ องหมาย semicolon
่ ายใต้
Code อยูภ
(;)
{}
การ comment มี 2 ประเภท คือ
Comment แบบบรรทัดเดียว ใช้ //
Comment หลายบรรทัดใช้ /* */ หรื อ
/*--------------------------------------------------------------------------------*/
เครื่ องหมายสิ้นสุ ดคาสั่ ง (;)
;
ตัวแสดงจุดสิ้ นสุ ดแต่ละคาสัง่
ตัวอย่ าง 1
x = 10;
y = 2 + x;
จบบล็อก ไม่ตอ้ งใส่ ;
ตัวอย่ าง 2
x = 10; y = 2 + x;
คาสั่ งแสดงผล
วิธี1 Console.Write (ข้ อความ);
วิธี2 Console.WriteLine (ข้ อความ);
Console.Write ("Hello");
Console.WriteLine ("Hello World");
string str = "Hello";
Console.Write (str + " World");
22
ทดลองเขียนโปรแกรม
จงเขียนโปรเจ็กต์ชนิด Console Application โดยใช้คาสัง่ Write/
WriteLine และให้โปรแกรมมีผลลัพธ์ดงั นี้
******************************************************
Student ID : …………………………….
Name : ……………………..Faculty :……………………
Major :……………………………………………………
******************************************************
คาสั่ งรับข้ อมูล
วิธี1
วิธี2
Console.Read (); หรื อ
Console.ReadLine ();
ตัวแปร = Console.Read (); หรื อ
ตัวแปร = Console.ReadLine ();
Console.Write ("What is your name? : ");
string name = Console.ReadLine ( );
// Laksamee
Console.Write ("My name is " + name);
Console.Read ( );
24
จงหาข้ อผิดพลาดของโปรแกรมต่ อไปนี้
ชนิดของข้ อมูล
Numeric (เลขจานวนเต็ม และเลขทศนิ ยม)
Char (ตัวอักษร)
String (ข้อความ)
Boolean (บูลีน)
Object
26
เลขจานวนเต็ม
Data type
ขนาด
ค่ าของข้ อมูล
sbyte (System.SByte)
1 byte
-128 ถึง 127
short (System.Int16)
2 bytes
-32,768 ถึง 32,767
int (System.Int32)
4 bytes
-2,147,483,648 ถึง
2,147,483,647
long (System.Int64)
27
8 bytes
-263 ถึง (263 – 1)
เลขจานวนเต็มบวก
Data type
ขนาด
ค่ าของข้ อมูล
byte (System.Byte)
1 byte
ushort (System.UInt16)
2 bytes 0 ถึง 65,535
uint (System.UInt32)
4 bytes 0 ถึง 4,294,967,295
ulong (System.UInt64)
8 bytes 0 ถึง 264 -1
28
0 ถึง 255
เลขทศนิยม
Data type
ขนาด
ค่ าของข้ อมูล
float (System.Single)
4 bytes ±1.5 x 10-45 ถึง ±3.4 x 1038
ความแม่นยาของทศนิยมอยูท่ ี่ 7 ตาแหน่ง
double (System.Double)
8 bytes ±5.0 x 10-324 ถึง ±1.7 x 10308
ความแม่นยาของทศนิยมอยูท่ ี่ 15 ตาแหน่ง, มีช่วงของข้อมูลกว้างที่สุด
decimal (System.Decimal) 16 bytes ±1.0 x 10-28 ถึง ±7.9 x 1028
ความแม่นยาของทศนิยมอยูท่ ี่ 28 ตาแหน่ง, ช่วงข้อมูลแคบกว่า double
แต่ให้ค่าละเอียดมากในส่ วนของทศนิยม เหมาะกับการคานวณเรื่ องเงิน
29
ประเภทข้ อมูลทีไ่ ม่ ใช่ Numeric
Data type
char
(System.Char)
string
(System.String)
bool
(System.Boolean)
30
ขนาด
2 bytes
ค่ าของข้ อมูล
ตัวอักษรแบบ Unicode มีเครื่ องหมาย '
(single quote) คร่ อมตัวอักษร เช่น 'A', '1'
ไม่แน่นอน ตัวอักษรแบบ Unicode หลายตัวมารวมกัน
มีเครื่ องหมาย " (double quote) คร่ อม
เช่น "Hello"
1 bit มีค่าที่เป็ นไปได้ 2 ค่า คือ
true และ false
การประกาศตัวแปร (Variable)
วิธี1 [ชนิดของข้ อมูล] ชื่ อตัวแปร;
วิธี2 [ชนิดของข้ อมูล] ชื่ อตัวแปร = [ค่ าเริ่มต้ นของตัวแปร];
int x; int y, z; int Y, Z = 3;
Double d = 10.99;
String D = "Hello World",str;
หมายเหตุ:
ไม่สามารถประกาศตัวแปรซ้ าภายในบล็อก {…} เดียวกัน
31
ตัวอย่ าง: การประกาศตัวแปร
32
การประกาศค่ าคงที่ (Constant)
const [ชนิดของข้ อมูล] ชื่ อตัวแปร = ค่ าคงที;่
const int x = 1;
const double pi = 3.14;
หมายเหตุ:
ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าคงที่ได้
33
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ (operator)
Arithmetic Operators
+ - * / %
++ - = += -= *= /= %=
A = 2+3;
B = 4 % 3;
X++; ++X; X--; --X;
Y += 3;
String Operators
+
Message = "Hello "+Name
If (A=5 && B>6) {…}
Boolean Operators
< <= > >= == !=
! && || ^
34
นิพจน์ ทางคณิตศาสตร์ (operator)
35
Operators
+-* /
% (remainder after division)
Example
11 + 5 16
11 / 2 5.5
11 % 2 1
5.0 % 2.2 0.6
ลาดับความสาคัญของ Operators
ลาดับ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
36
Operator
( ), x++, x-+x, -x, ++x, --x, !
*, /, %
+, shift bits left: <<, shift bits right: >>
<, <=, >, >=, is, as
= =, !=
&, |, ^
&&, ||, ?:
=, +=, =,*=, /=, %=, <<=, >>=, &=, ^=, |=
ลาดับความสาคัญของ Operators
1.
2.
3.
4.
( ) parentheses
*, / , %
+–
If equal precedence, left to right
ตัวอย่ าง
int Width,High;
Width=10*5+16*12/5;
High= 16+5+20%2;
37
ทดลองเขียนโปรแกรมคานวณพืน้ ที่สี่เหลีย่ ม
38
แบบฝึ กหัด
1. จงหาผลลัพธ์ของคาสัง่ ต่อไปนี้
2. จงเขียนคาสัง่ ในภาษา C# เพื่อประกาศตัวแปรหรื อค่าคงที่ตามที่กาหนดให้
โดยเลือกใช้ชนิดข้อมูลที่เหมาะสม
2.1 ค่าคงที่ชื่อ MY AGE เพื่อใช้แทนอายุปัจจุบนั ของนักศึกษา
2.2 ตัวแปรชื่อ income เพื่อใช้เก็บเงินเดือนของพอลล่า
2.3 ตัวแปรชื่อ temp c เพื่อเก็บค่าอุณหภูมิบริ เวณขั้วโลกเป็ นองศาเซลเซียส
2.4 ค่าคงที่ชื่อ PI เพื่อใช้แทนค่า 3.1415926535
2.5 ตัวแปรชื่อ myName เก็บค่าเริ่ มต้นเป็ น "Pe-ter"
3. จงเขียนโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลมและเส้นรอบวง โดยให้สามารถ
รับค่ารัศมีจากผูใ้ ช้ได้ โดยกาหนดค่าคงที่ชื่อ PI ใช้แทนค่า 3.141
ตัวอย่างหน้าจอแสดงผล
Enter Radius : 4
Radius of Circle = 4
Area of Circle = 50.256
Round of Circle = 25.128