Competency Role and Evaluation Prasit Watanapa Mahidol University 29/06/2009 HR Management Policy Implementation of Performance Enhancement Human Resource Management System) System Adoption of Competency-Based Human Resource Management Tool P Watanapa.
Download
Report
Transcript Competency Role and Evaluation Prasit Watanapa Mahidol University 29/06/2009 HR Management Policy Implementation of Performance Enhancement Human Resource Management System) System Adoption of Competency-Based Human Resource Management Tool P Watanapa.
Competency
Role and Evaluation
Prasit Watanapa
Mahidol University
29/06/2009
HR Management Policy
Implementation of Performance Enhancement Human Resource
Management System)
System
Adoption of Competency-Based Human Resource Management
Tool
P Watanapa
HR Strategy = Maximize the Performance of the Workforce Through
Alignment of HR Activities and Programs with the Strategic Direction and
Business Needs of the Organization
Performance Enhancement = Develop and Deliver Programs That Enhance the Organization’s
Ability to Attract, Develop and Retain Superior Performers
Public/Government University
5% HR
Strategy
25% Performance
Enhancement
30%
40%
Transactions
Administration
Autonomous University
HR Transformation
HR
Strategy
Performance
Enhancement
20%
45%
Handle Employee
Transactions and Inquiries
Transactions
15%
Manage Vendors, Suppliers,
AdminisBudgets, and HR Systems
tration 20%
P Watanapa
HR Planning
Recruitment & Selection
Training & Development
Competency-Based HR Management
Compensation System
HR Information System
Performance Management
P Watanapa
Definition “COMPETENCY”
• บุคลิก ลักษณะของบุคคลทีส่ ะท้ อนให้ เห็นถึงความรู้ (Knowledge)
ทักษะ (Skills) ทัศนคติ (Attitude) ความเชื่อ (Belief) และอุปนิสัย
(Trait)
• กลุ่มของความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะของ
บุคคล (Attributes) ซึ่งสะท้ อนให้ เห็นจากพฤติกรรมในการทางานที่
แสดงออกมาของแต่ ละบุคคล (สามารถวัดหรือสั งเกตได้)
P Watanapa
COMPETENCY
• Professor David C McClelland – Harvard University
• Competency ของบุคลากร เกิดได้ จาก
– พรสวรรค์ ทตี่ ิดตัวมาแต่ เกิด
– ประสบการณ์ การทางาน
– การศึกษาฝึ กอบรม
P Watanapa
ประเภทของ COMPETENCY
Core Competency
• บุคลิกหรือลักษณะของบุคคลทีส่ ะท้ อนให้ เห็นถึงความรู้ ทักษะ
ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยของบุคลากรในองค์ การโดยรวม
ซึ่งจะสนับสนุนให้ องค์ กรบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ได้
• อาจเรียกว่ า Core/Corporate Value หรือ Corporate Philosophy
P Watanapa
ประเภทของ COMPETENCY
Managerial Competency
• บุคลิกหรือลักษณะของบุคคลทีส่ ะท้ อนให้ เห็นถึงความรู้ ทักษะ
ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัย ในการบริหารและจัดการงานต่ างๆ
ซึ่งจะมีความแตกต่ างตามบทบาทและหน้ าที่ความรับผิดชอบ
(Role-Based)
P Watanapa
ประเภทของ COMPETENCY
Job/Functional/Technical Competency
• บุคลิกหรือลักษณะของบุคคลทีส่ ะท้ อนให้ เห็นถึงความรู้ ทักษะ
ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัย ทีส่ ่ งเสริมให้ บุคคลนั้น สร้ าง
ผลงานในการปฏิบัตงิ านในตาแหน่ ง ได้ มาตรฐานหรือสู งกว่ า
มาตรฐาน
P Watanapa
ประโยชน์ ของ COMPETENCY
• ช่ วยสนับสนุนวิสัยทัศน์ ภารกิจ และแผนกลยุทธ์ ขององค์ การ
VISION
MISSION
GOALS
STRATEGIES
COMPETENCIES
P Watanapa
ประโยชน์ ของ COMPETENCY
• ใช้ เป็ นเครื่องมือในการบริหารทรัพยากรบุคคล
– การสรรหาและคัดเลือก
– การพัฒนาฝึ กอบรม
– การเลือ่ นระดับปรับตาแหน่ งงาน
– การวางแผนทรัพยากรบุคคล
– การประเมินผลการปฏิบัติงาน
– การบริหารค่ าตอบแทน
P Watanapa
ประโยชน์ ของ COMPETENCY
• ใช้ เป็ นเครื่องมือในการทาให้ เกิด Alignment ในการพัฒนา
บุคลากรและองค์ การ
• ใช้ ในกระบวนการการจัดทา Succession Plan
P Watanapa
(Skill, Knowledge, Attributes (Behavior, Character)
Competency
STAFF
DEVELOPMENT
ORGANIZATION
DEVELOPMENT
P Watanapa
การแบ่ ง COMPETENCY ตามระดับ
• Organization Competency
• Department/Division/Task Competency
• People/Personal Competency
P Watanapa
Alignment of Development Plans
Organization Needs
Organization Competencies
Department/Division (Task) Needs
Personal Needs
People Competencies
P Watanapa
Alignment of Development Plans
Organization Needs
Research-Oriented
Organization
Department/Division (Task) Needs
Personal Needs
Research-Thinking Ability
P Watanapa
ขั้นตอนการจัดทา Competency
วิเคราะห์ หา Competency
กาหนดนา้ หนัก
การกาหนด Core/Managerial/Functional
Competency ขององค์ การและตาแหน่ งงาน
กาหนดระดับความคาดหวัง
กาหนดวิธีการประเมิน
ประเมิน Competency ปัจจุบนั
การประเมิน Competency ของบุคลากร
ในตาแหน่ งงานต่ างๆ
สรุปผลการประเมินและนาผลไปใช้
P Watanapa
การกาหนด Core Competency
• กาหนดจาก Vision, Mission, Goals และ Strategy
• ควรจัดตั้งคณะกรรมการซึ่งประกอบด้ วย Top Management,
Middle Manager ร่ วมกันค้ นหาและกาหนด Core Competency
• โดยทั่วไป Core Competency ขององค์ การ มักมีประมาณ 3-5 ตัว
• สร้ างความเข้ าใจให้ กบั บุคลากรทั้งองค์ การในแต่ ละ Core
Competency
P Watanapa
Core Competencies
Integrity
Achievement Motivation
Responsibility
Teamwork
Systematic Job Planning
P Watanapa
การกาหนด Managerial/Functional
Competency
• วิเคราะห์ งาน (Job Analysis) ของตาแหน่ งงานต่ างๆ
• จัดทา Job Description และนาไปสู่ Job Standard เพือ่ กาหนดหา
Managerial/Function Competency โดยอาจใช้ วธิ ีการสั มภาษณ์
ผู้ปฏิบัตงิ าน หรือจัดสั มมนากลุ่มโดยผู้เกีย่ วข้ อง
• สื่ อสารกับบุคลากรแต่ ละตาแหน่ งเพือ่ เข้ าใจใน Competency ที่
กาหนดขึน้
P Watanapa
การกาหนดระดับความคาดหวัง
• กาหนด Proficiency Levels ของแต่ ละ Competency เช่ น แบ่ ง
ออกเป็ น 5 ระดับ
• ระบุระดับทีถ่ ูกคาดหวัง อาจดาเนินการโดยผู้บริหารระดับสู ง
หรือใช้ คณะกรรมการร่ วมกันพิจารณา
P Watanapa
Leadership : 5 ระดับ
ระดับที่
ตาแหน่ งงาน
1
ไม่ เชื่อมัน่ ในการตัดสิ นใจของตนเอง
ขาดการวางแผนงานหรือการจัดระบบงานที่ดี
ตัดสิ นใจผิดพลาด ก่ อให้ เกิดผลเสี ยในการดาเนินงาน
ไม่ สามารถพูดโน้ มน้ าวให้ ผ้ ูอนื่ ปฏิบัติตามหรือมีความเห็นคล้ อยตามได้
2
สอบถามความคิดเห็นของผู้อนื่ เสมอก่ อนการตัดสิ นใจ
รวบรวมข้ อมูลข่ าวสารต่ างๆ เพือ่ ใช้ ประกอบการตัดสิ นใจอยู่เสมอ
ตัดสิ นใจทาให้ การดาเนินงานต่ างๆ ต้ องล่ าช้ า
P Watanapa
Leadership : 5 ระดับ
ระดับที่
ตาแหน่ งงาน
3
คิดวิเคราะห์ หาเหตุผลต่ างๆ เพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
โน้ มน้ าวและจูงใจผู้อนื่ ให้ ทางานด้ วยความเต็มใจ
ยุติปัญหาหรือความขัดแย้ งระหว่ างเพือ่ นร่ วมงานภายในทีมได้
4
กล้ายอมรับข้ อผิดพลาดหรือผลต่ างๆ ที่เกิดขึน้ จากการตัดสิ นใจ
จัดการปัญหาหรือความขัดแย้ งทีเ่ กิดขึน้ ระหว่ างหน่ วยงานได้
ช่ วยหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องตัดสิ นใจในการวางแผนงานและการแก้ ไข
ปัญหาต่ างๆ ได้ สาเร็จ
กระตุ้นให้ ผ้ ูอนื่ ทุ่มเทความพยายามในการทางาน
P Watanapa
Leadership : 5 ระดับ
ระดับที่
ตาแหน่ งงาน
5
แสดงออกถึงความเป็ นผู้นาภายใต้ สถานการณ์ ทมี่ คี วามเสี่ ยงหรือมีความ
ขัดแย้ง
ทาให้ ผ้ ูอนื่ สร้ างพันธะสั ญญาในการมุ่งสู่ ความสาเร็จของเป้ าหมาย
นาเสนอแนวคิดใหม่ ๆ ในการแก้ ไขปัญหาที่เกิดขึน้ ซึ่งมีผลต่ อภาพพจน์
ขององค์การ
≥ 65% ของ Criteria = ระดับนั้น
P Watanapa
การกาหนดระดับความคาดหวัง
Leadership : 5 ระดับ
ระดับตาแหน่ งงาน
ผู้บริหารระดับสู ง
ตาแหน่ งงาน
ระดับความคาดหวัง
5
คณบดี
ผู้บริหารระดับกลาง
หัวหน้ าภาควิชา
4
ผู้บริหารระดับต้ น
หัวหน้ าสาขา
3
ผู้ปฏิบัติการระดับบน
อาจารย์
3
ผู้ปฏิบัติการระดับล่ าง
เจ้ าหน้ าทีส่ ายสนับสนุน
2
P Watanapa
การกาหนดนา้ หนักของ Competency
• นิยมกาหนดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ตามความสาคัญ โดยอาจกาหนดโดย
หัวหน้ างานหรือคณะกรรมการ
• ตาแหน่ งงานต่ างๆ จะมีนา้ หนักของ Competency ต่ างๆ ที่
แตกต่ างกัน
P Watanapa
การประเมิน Competency
• ประเมินโดยคณะกรรมการ ซึ่งต้ องได้ ข้อมูลจากผู้ร่วมปฏิบัตงิ าน
กับผู้ถูกประเมิน ระดับบริหาร ควรใช้ 360°
• ผู้บริหารกาหนดระดับทีผ่ ่ าน
• เงื่อนไข/นิยาม มีมากกว่ า/เท่ ากับร้ อยละ 65 ของนิยาม ถือว่ ามี
Competency ระดับนั้น
• Balance ระหว่ าง Core & Functional/Managerial Competency
P Watanapa
การประเมิน Competency
• ระดับปฏิบัตกิ าร : Performance : Competency = 80 : 20
• ผู้บริหารระดับหัวหน้ างาน/หน่ วย = 60 : 40
• ผู้บริหารระดับคณบดี ผู้อานวยการ รองคณบดี รองอธิการบดี
= 50 : 50
P Watanapa