การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor

Download Report

Transcript การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor

Slide 1

ประจำวันที่ 5 ธันวำคม 2551


Slide 2

อุปกรณ์ การถ่ ายภาพที่จาเป็ นต้ องใช้
 กล้องดิจติ อล – แบบ Compact หรือ DSLR


Slide 3

 แบตเตอรี่


Slide 4

 เมมโมรี่ กำร์ด (Memory card)


Slide 5

 ขำตัง้ กล้อง


Slide 6

รายละเอียดการเดินทาง
 06.00 น.
 08.30 น.
 11.00 น.
 14.00 น.
 15.00 น.
 16.00 น.
 18.00 น.
 18.30 น.

พร้อมกันทีแ่ ท่นพระเทพฯ เบรกฟำสต์เบำ ๆ บนรถ
ถึง อ.มวกเหล็ก ทุง่ ทำนตะวันกำลังผลิดอกสะพรัง่ เชิญเพือ่ น ๆ ทดสอบฝีมอื
พร้อมคำแนะนำจำกช่ำงภำพมืออำชีพ สมำคมถ่ำยภำพแห่งประเทศไทย
ถึง อ.ปำกช่อง ร้ำนอำหำร(คำดว่ำจะเป็ นร้ำนบ้ำนไม้ชำยน้ ำ) ร่วมรับประทำน
อำหำรกลำงวันร่วมกัน ทีร่ ำ้ นนี้ มีมมุ ถ่ำยภำพให้ได้ทดลองกล้องกันหลำยมุม
เดินทำงถึง ศูนย์ฝึกสุนขั สงครำม ริมถนนมิตรภำพ แยกย้ำยกันชมโชว์ต่ำง ๆ
ตำมใจชอบ เช่นโชว์สนุ ขั ทหำร โชว์ขม่ี ำ้ ข้ำมเครือ่ งกีดขวำงต่ำงๆ
ชมโชว์รม่ บิน (พำรำมอเตอร์)
ขบวนบอลลูน เคลือ่ นเข้ำประจำที่ เตรียมกล้องให้พร้อม ไฮไลท์ นับแต่นำทีน้ีเป็ น
ต้นไป
บอลลูนลูกสุดท้ำย ลอยสูท่ อ้ งฟ้ำ ขอเชิญสมำชิก เตรียมเดินทำงกลับ
พบกันทีร่ ถ เดินทำงกลับ กคช.


Slide 7

เทคนิคการถ่ ายภาพที่ทุกคนควรทราบ


Slide 8

กฎสามส่ วน (Rule of Third)
 กำรจัดวำงตำแหน่งหลักของภำพถ่ำย เป็ นองค์ประกอบหนึ่งทีส่ ำมำรถทำให้เกิดผล

ทำงด้ำนแนวควำมคิด และควำมรูส้ กึ กำรวำงตำแหน่งทีเ่ หมำะสมของจุดสนใจในภำพ
เป็ นอีกสิง่ หนึ่งทีส่ ำคัญ และทีน่ ิยมกันโดยทัวไปคื
่ อ กฎสามส่วน
กฎสำมส่วนกล่ำวไว้วำ่ ไม่วำ่ ภำพจะอยูแ่ นวตัง้ หรือแนวนอนก็ตำม หำกเรำแบ่งภำพนัน้
ออกเป็ นสำมส่วน ทัง้ ตำมแนวตัง้ และแนวนอน แล้วลำกเส้นแบ่งภำพทัง้ สำมเส้น จะเกิด
จุดตัดกันทัง้ หมด 4 จุด ซึง่ จุดตัดของเส้นทัง้ สีน่ ้ี เป็ นตำแหน่งทีเ่ หมำะสมสำหรับกำรจัด
วำงวัตถุทต่ี อ้ งกำรเน้นให้เป็ นจุดเด่นหลัก ส่วนรำยละเอียดอื่นๆนัน้ เป็ นส่วนสำคัญที่
รองลงมำ


Slide 9

จำกตัวอย่ำงจะเห็นได้วำ่ อัตรำส่วน
ระหว่ำงพืน้ ดินกับท้องฟ้ำเป็ น 1:3
นอกจำกนี้ตำแหน่งจุดสนใจยังอยูท่ ่ี
บริเวณจุดตัด ทำให้ภำพดูสมบูรณ์ และ
น่ำสนใจยิง่ ขึน้ และเรำยังสำมำรถนำไป
ประยุกต์ใช้ในกำรจัดองค์ประกอบภำพ
อื่นๆ โดยใช้หลักกำรเดียวกัน


Slide 10


Slide 11


Slide 12


Slide 13

เทคนิคการวางเส้ นขอบฟ้า
 กำรวำงเส้นขอบฟ้ำ กรณีทต่ี อ้ งกำรถ่ำยภำพทีม่ เี ส้นสำย ไม่วำ่ จะเป็ นขอบฟ้ำ ขอบน้ ำ

หรือภูเขำ กำรวำงเส้นเหล่ำนี้ มักจะแบ่งพืน้ ทีข่ องภำพออกเป็ น 3 ส่วน โดยอำจ
แบ่งเป็ นพืน้ ทีน่ ้ ำ 2 ส่วน แล้วฟ้ำหนึ่งส่วน หรือสลับกันได้ตำมควำมสวยงำม โดยจะ
วำงเส้นเหล่ำนี้ในแนวเส้นทึบตำมรูป


Slide 14


Slide 15


Slide 16

เทคนิคเล่ นสีค่ ูตรงข้ าม
 กำรเลือกใช้สคี ตู่ รงข้ำมจะทำให้งำนทีไ่ ด้มคี วำมสะดุดตำในกำรมองแต่กต็ อ้ งระวังกำร

ใช้สคี ตู่ รงข้ำม เพรำะกำรเลือกใช้สคึ ตู่ รงข้ำมด้วยกันนัน้ ถ้ำเรำหยิบสี 2 สีทต่ี รงข้ำมกัน
มำใช้ในพืน้ ทีพ่ อๆกัน งำนนัน้ จะดูไม่มจี ุดเด่น ทำงทีด่ เี รำควรแบ่งพืน้ ทีข่ องสีในภำพ
ของกำรใช้สใี ดสีหนึ่งมำกกว่ำอีกสีหนึ่งโดยประมำณมักจะใช้สหี นึ่ง70 % อีกสีหนึ่ง 30
% ภำพทีไ่ ด้กจ็ ะคงควำมมีเอกภำพอยู่ และยังมีควำมเด่นสะดุดตำไปได้ในตัว


Slide 17


Slide 18


Slide 19

มุม Polarization
 มุม PL คือมุมทีท่ อ้ งฟ้ำให้สฟี ้ ำเข้มทีส่ ดุ


Slide 20

 สำหรับคนทีใ่ ช้กล้อง DSLR แนะนำให้ใช้ตวั ช่วยหนึ่งตัว ซึง่ ก็คอื Circular

Polarizer หรือ C-PL


Slide 21

 รูปเปรียบเทียบระหว่ำงใช้ C-PL กับไม่ใช้ C-PL


Slide 22

เทคนิคการถ่ ายภาพย้ อนแสง (Silhouete)
 กำรถ่ำยภำพย้อนแสงหรือภำพเงำดำ ภำพประเภทนี้นกั ถ่ำยภำพสมัครเล่นไม่ค่อย

ให้ควำมสนใจ เพรำะจะได้ภำพทีไ่ ม่ชดั ไม่เห็นรำยละเอียดของวัตถุ ถ้ำถ่ำยภำพ
คนจะมองดูแล้วมืด แต่ทจ่ี ริงแล้วภำพย้อนแสงไม่วำ่ จะเป็ นภำพสี หรือขำว–ดำ
ก็ตำมจะช่วยให้เรำเรียนรูเ้ รือ่ งรูปร่ำง (Shape) ของวัตถุทบ่ี งั แสงอยู่ นักถ่ำยภำพ
อำชีพมักจะเสำะแสวงหำภำพประเภทนี้อยูเ่ สมอ เพรำะภำพย้อนแสงจะให้ทงั ้ ควำมงำม
ให้อำรมณ์ ให้สสี นั รุนแรง ให้ควำมแปลกตำไปอีกลักษณะหนึ่งกำรถ่ำยภำพย้อนแสง
ควรถ่ำยให้ภำพมีชว่ งควำมชัดลึก โดยเปิดช่องรับแสงให้แคบกว่ำปกติเล็กน้ อย
พยำยำมเลือกวัตถุทม่ี โี ครงร่ำงทีส่ วยงำมหำมุมย้อนแสง โดยวำงจังหวะของดวงอำทิตย์
ให้พอดี


Slide 23


Slide 24