+ H 2 - krooree

Download Report

Transcript + H 2 - krooree

Slide 1

เคมีไฟฟ้ า

ELECTROCHEMISTRY

ปฏิกิริยารีดอกซ์
REDOX REACTION
ครูนารีรตั น์ พิริยะพันธุส์ กุล

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย


Slide 2

เนื้ อหา
ปฎิกริ ยิ าออกซิเดชันและปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน
ตัวรีดวิ ซ์และตัวออกซิไดซ์
การเขียนและดุลสมการ
จุดประสงค์
1. อธิบายความหมายและการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดกั ชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์ได้
2. อธิบายความหมายของ ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์ได้
3. เขียนและดุลสมการรีดอกซ์ได้


Slide 3

การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนสถานะ
การเกิดสารละลาย

การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ิ เล็ก่ยตรอน
มีมีกการถ่
ายโอนอ
ระแสไฟฟ้
ามาเกี
วข้อง

้ ามาเกี
ิ เล็กย่ ตรอน
ไม่
ายโอนอ
ไม่มมีกกี ารถ่
ระแสไฟฟ
วข้อง

Redox reaction

Non-redox reaction


Slide 4

การทดลอง
จุดประสงค์

สารเคมี

อุปกรณ์

ปฏิกริ ยิ าระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน
1. ทาการทดลองเพือ่ ศึกษาปฏิกริ ยิ าระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออนได้
2. อธิบายปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน และปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ทเ่ี กิดขึน้ ได้
3. อธิบายความหมายของตัวรีดวิ ซ์ และตัวออกซิไดซ์ได้
4. เปรียบเทียบความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนของโลหะไอออนได้
5. เปรียบเทียบความสามารถในการเสียอิเล็กตรอนของโลหะได้
1. โลหะทองแดง ขนาด 0.5 cm x 7cm
2. โลหะสังกะสี ขนาด 0.5 cm x 7cm
3. สารละลาย CuSO4

2 ชิน้
2 ชิน้
25 cm3

4. สารละลาย ZnSO4

25 cm3

1. บีกเกอร์
ขนาด 50 mL
2. กระดาษทราย ขนาด 3 cm 3 cm
แผ่น
3. กระบอกตวง
ขนาด 10 mL
4. แท่งแก้วคนสาร

4 ใบ
1
2 ใบ
1 อัน


Slide 5

Zn metal

Cu metal

Zn metal

Cu metal

CuSO4(aq)

CuSO4(aq)

ZnSO4(aq)

ZnSO4(aq)

3

4

1

2


Slide 6

ลงมือทา
การทดลองได้แล้ว


Slide 7

redox reaction

1

krooree @ pcccr.ac.th

ในสารละลายมีไอออนชนิดใดละลายอยูบ่ า้ ง

Cu2+(aq)

SO42- (aq)
ในสารละลายมีไอออนของโลหะชนิดใดละลายอยู่

CuSO4(aq)

Cu2+(aq)

ในสารละลายชนิดอื่นๆ เช่น สารละลาย ZnSO4
นักเรียนอธิบายได้หรือไม่


Slide 8

Zn metal

Cu metal

Zn metal

Cu metal

Cu2+ ions

Cu2+ ions

Zn2+ ions

Zn2+ ions

CuSO4(aq)

CuSO4(aq)

ZnSO4(aq)

ZnSO4(aq)

3

4

1

2


Slide 9

จากการทดลอง

โลหะกับไอออนของโลหะคู่ใดที่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึน้ และทราบได้อย่างไร


Slide 10

Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-

Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s)


Slide 11

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน

Zn(s)

Zn2+(aq) + 2e-

ปฏิกิริยารีดกั ชัน
2eCu(s)

Cu2+(aq) +
With time, Cu plates out
onto Zn metal strip, and
Zn strip “disappears.”



Reduction (gaining electrons) can’t happen
without an oxidation to provide the electrons.

ปฏิกิริยารีดอกซ์

Zn(s) + Cu2+(aq)

Cu(s) + Zn2+(aq)

You can’t have 2 oxidations or 2 reductions in the same equation.
Reduction has to occur at the cost of oxidation


Slide 12

reducer
•Zn is oxidized and is the reducing agent

Zn(s)
ตัวรีดิวซ์

Zn(s)
นักเรียนอธิบายปฏิกิริยา
ที่เกิดขึน้ ระหว่าง
โลหะกับโลหะไอออน
คู่อื่นๆ ได้หรือไม่

ตัวออกซิไดซ์

+

Cu2+(aq)

Zn2+(aq) + 2eปฏิกิริยารีดอกซ์

Cu2+(aq) + 2e-

Cu(s) + Zn2+(aq)
Cu(s)

Cu2+ is reduced and is the oxidizing agent

oxidiser


Slide 13

ตัวรีดิวซ์

Zn(s)

ตัวออกซิไดซ์

+ Cu2+(aq)

Cu(s) + Zn2+(aq)

ความสามารถในการให้อิเล็กตรอน

ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน

ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอน

ความสามารถในการชิงอิเล็กตรอน

Zn(s)
Cu(s)

Zn2+(aq)
Cu2+(aq)


Slide 14

REDUCING AGENT

OXIDIZING AGENT

electron donor;

electron acceptor;

species is oxidized.

species is reduced.

เลขออกซิ เดชัน

+2

0

Zn(s) + Cu2+(aq)

0

Cu(s) +

+2
Zn2+(aq)

ปฏิกิริยารีดกั ชัน
เลขออกซิ เดชันลดลง


REDUCTION—gain of electron(s);
decrease in oxidation number;

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
เลขออกซิ เดชันเพิ่ มขึน้


OXIDATION—loss of electron(s) by a species;
increase in oxidation number

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาที่สารมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน


Slide 15

เขียนรายงานการทดลอง

และทาแบบฝึกหัดด้วยนะคร๊าบ


Slide 16

แบบฝึ กหัด 9.1

1. จงพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์


Slide 17

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ1(ก)

Na = +1

เลขออกซิเดชัน

Na = +1
C = +4

C = +4
O = -2

O = -2

H = +1

O = -2

H = +1

Cl = -1

Cl = -1

2HCl (aq) + Na2CO3(aq)

2NaCl (aq) + H2O (l) + CO2 (g)

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน

ตอบ

ไม่เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 18

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ1(ข)
เลขออกซิเดชัน

Na = +1

Na = +1
S = +2

S = +4

O = -2

O = -2

S= 0
O = -2
H = +1

H = +1
Cl = -1

Cl = -1

2HCl (aq) + Na2S2O3(aq)

2NaCl (aq) + SO2 (g) +H2O (l)+ S (s)

เลขออกซิเดชัน S เพิม่ ขึน้ จาก +2 เป็ น +4
เลขออกซิเดชัน S ลดลง จาก +2 เป็ น 0

ตอบ

เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 19

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ1(ค)

เลขออกซิเดชัน

H = +1

H = +1

H = +1

C = +4

C = +4
O = -2

O = -2

O = -2

H2CO3(aq) + OH- (aq)

H2O (l) + CO32- (g)

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน

ตอบ

O = -2

ไม่เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 20

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ1(ง)

เลขออกซิเดชัน

O = -2

O=0

H = +1

H = +1
N = -2

N= 0

N2H4 (aq) + O2(g)

N2 (g) + H2O (l)

เลขออกซิเดชัน O ลดลง จาก 0 เป็ น -2
เลขออกซิเดชัน S เพิม่ ขึน้ จาก -2 เป็ น 0

ตอบ

เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 21

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ1(จ)

เลขออกซิเดชัน

H = +1

H = +1
O = -2

O = -2

O = -2

Cr = +6

Cr2O72- (aq) + 2OH- (aq)

ตอบ

Cr = +6

2CrO42- (aq) +H2O (l)

ไม่เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 22

แบบฝึ กหัด 9.1

2. จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฎิกิริยารีดกั ชัน
ของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่กาหนดให้พร้อมทัง้ ระบุตวั ออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์


Slide 23

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ2(ก)

ปฏิกริ ิยารีดอกซ์

Cu(s) + 2Ag+ (aq)

2Ag (s) + Cu2+ (aq)

ครึ่งปฏิกริ ิยา ออกซิเดชั น

Cu(s)

Cu2+(aq) + 2e-

ครึ่งปฏิกริ ิยา รีดกั ชัน

Ag+ (aq) + e-

Ag (s)

ตัวรีดวิ ซ์

Cu

ตัวออกซิไดซ์

Ag
+


Slide 24

ปฏิกริ ิยารีดอกซ์

2Al(s) + 6H+ (aq)

2Al3+(aq) + 3H2 (g)

ครึ่งปฏิกริ ิยา ออกซิเดชั น

Al(s)

Al3+ (aq) + 3e-

ครึ่งปฏิกริ ิยา รีดกั ชัน

2H + (aq) + 2e-

H2 (s)

ตัวรีดวิ ซ์

Al

ตัวออกซิไดซ์

H+


Slide 25

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ2(ค)

ปฏิกริ ิยารีดอกซ์

Mg(s) + Cl2 (aq)

Mg2+ (aq)+ 2Cl- (g)

ครึ่งปฏิกริ ิยา ออกซิเดชั น

Mg2+ (aq) + 2e-

Mg(s)
ครึ่งปฏิกริ ิยา รีดกั ชัน

Cl2 (aq)

+

2Cl- (s)

2e-

ตัวรีดวิ ซ์

Mg

ตัวออกซิไดซ์

Cl2


Slide 26

แบบฝึ กหัด 9.1
3.เมื่อทดลองจุ่มลวดโครเมียมลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง
พบว่าสารละลายเปลี่ยนจากไม่มีสีเป็ นสีฟ้า และมีแก๊สเกิดขึน้
ก. จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาและปฏิกิริยารีดอกซ์ พร้อมทัง้ ระบุ
ตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์
ข. H+ และ Cr 2+ ในสารละลาย ไอออนชนิดใดรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่ากัน
เพราะเหตุใด
Cr metal

HCl(aq)


Slide 27

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ3
Cr metal

ครึ่งปฏิกริ ิยา ออกซิเดชัน

Cr(s)
ครึ่งปฏิกริ ิยา รีดกั ชัน

HCl(aq)

ปฏิกริ ิยารีดอกซ์

2H+ (aq) +
Cr(s) + 2H+ (aq)

ตัวรีดวิ ซ์

Cr

H+

รับอิเล็กตรอนได้ ดกี ว่ า

Cr2+ สีฟ้า
Cr2+ (aq)Cr + 2eไอออนของ
Cr3+ สีเขียว
2e-

H2 (g)
Cr2+ (aq) + H2 (g)

ตัวออกซิไดซ์

Cr2+

เพราะ Cr เป็ นโลหะ มี IE ต่าและ EN ตา่ Cr จึงเสี ย e- ได้ ง่ายกว่ า
และ Cr2+ จึงชิง e- ได้ ยาก

H+


Slide 28

แบบฝึ กหัด 9.1
4. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ และพิจารณาว่าเป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์

หรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. ผสมสารละลาย Pb(NO3)2 กับสารละลาย KI เกิดตะกอนสีเหลือง
ข.. จุ่มลวดแมกนี เซียมลงในสารละลายZnSO4 เกิดสารสีเทาเงินที่ชิ้นแมกนี เซียม
ตรงส่วนที่จ่มุ ลงในสารละลาย
แมกนี เซียมกร่อนไป

เมื่อเคาะสารสีเทาเงินออกพบว่าลวด


Slide 29

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ4 (ก)

เลขออกซิเดชัน

I = -1
K = +1

I = -1
K = +1

(NO3- ) = -1

(NO3- ) = -1

Pb = +2

Pb(NO3 )2 (aq)+ 2KI
KI (aq)

ตอบ

Pb = +2

PbI2(s) + 2KNO
KNO3(aq)

ไม่เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 30

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ4(ข)

เลขออกซิเดชัน

Zn = 0

Zn = +2

Mg = +2

Mg = 0

Mg (s) + ZnSO4(aq)

MgSO4 (aq) + Zn (s)

เลขออกซิเดชัน Zn ลดลง จาก +2 เป็ น 0
เลขออกซิเดชัน Mg เพิม่ ขึน้ จาก 0 เป็ น +2

ตอบ

เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์


Slide 31

แบบฝึ กหัด 9.1
5. โลหะแมกนี เซียมทาปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกและสารละลาย
ZnSO4 ส่วนโลหะสังกะสีทาปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
แต่ไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลาย MgSO4
ก. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึน้
ข. จงเขียนลาดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของ H+ Mg2+ และ Zn2+
ในสารลาย และลาดับคววามสามารถในการเป็ นตัวรีดิวซ์ของ H2 Mg
และ Zn


Slide 32

แบบฝึ กหัด 9.1 ข้ อ5

ปฏิกริ ิยารีดอกซ์

Mg metal

HCl(aq)

ความสามารถ
ในการรับ
อิเล็กตรอน

Mg(s) + 2H+ (aq)

Mg2+(aq) + H2 (g)

H+
Mg2+

H2
Mg

Mg2+(aq)

+ Zn (s)

Zn2+
Mg2+

Zn
Mg

+ H2 (g)

H+
Zn2+

H2
Zn

Mg metal

Mg(s)+

Zn2+ (aq)

ความสามารถ
ในการเป็ น
ตัวรีดวิ ซ์

ZnSO4 (aq)
Zn metal

Zn(s) +

2H+ (aq)

Zn2+(aq)

H+

HCl(aq)
Zn metal

MgSO4 (aq)

Zn2+

Zn2+

H2
Zn

Mg2+

Mg


Slide 33

ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ไม่
ยากเลย ใช่ ไหมคะ
Take it easy


Slide 34

Balancing Equations

ปฏิกิริยารีดอกซ์
= ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
= ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน
ปฏิกริ ิยารีดกั ชัน
ตัวรีดิวซ์

Al

= สารตัง้ ต้นที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
= สารตัง้ ต้นที่เลขออกซิเดชันเพิ่มขึน้

ตัวออกซิไดซ์

H+

= สารตัง้ ต้นที่เกิดปฏิกิริยารีดกั ชัน
= สารตัง้ ต้นที่เลขออกซิเดชันลดลง


Slide 35

Balancing Equations

การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึน้ และเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตัง้ ต้นและสารผลิตภัณฑ์

สมการที0ด่ ุลเรียบร้อยแล้+2
วคือ

2 Al(s) + 3 Zn2+ (aq)
ตัวรีดวิ ซ์

+3

0

2 Al3+(aq) + 3 Zn (s)

เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 3 2 = 6
ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง = 2 3 = 6


Slide 36

Balancing Equations

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง

2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

ด่ ุลเรียบร้ อยแล้ วคือ
Zn = สมการที
0
Cr=+6

3 Zn(s) + Cr2O72- (aq) + 14 H+(aq)
ตัวรีดวิ ซ์

Zn=+2

Cr= +3

3Zn2+(aq) + 2 Cr3+(aq) + 7H2O (l)

เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 2 3 = 6
ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง = 3 2 = 6


Slide 37

ทาแบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ 1
เพือ่ ทบทวนความเข้ าใจ ก่อนนะคะ


Slide 38

Balancing Equations

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยา
1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารีดักชัน
และทาให้ แต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยามีจานวนอะตอมและประจุเท่ากัน
2. ทาจานวนอิเล็กตรอนทีใ่ ห้ และทีร่ ับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
3. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน

Al(s) + Zn2+ (aq)
Al(s)
สมการทีด่ ุลเรียบร้ อ2ยแล้
วคือ
3 Zn2+ (aq) + 3 2e3Zn2+ (aq) + 2Al(s)

Al3+(aq)

+ Zn (s)

2 Al3+(aq) + 2 3e3 Zn (s)
3Zn (s) + 2Al3+(aq)


Slide 39

Balancing Equations

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยาในกรด
1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารีดักชัน
และดุลแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยา ยกเว้ น H และ O
2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+
3. ดุลประจุของแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาโดยการเติมอิเล็กตรอน
4. ทาจานวนอิเล็กตรอนทีใ่ ห้ และทีร่ ับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
5. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน

MnO4

-

+

Fe2+

2+
5 Fe
สมการทีด่ ุลเรียบร้ อยแล้
วคือ
MnO4 - + 8H+ + 5e-

MnO4 - +

8H+

+ 5Fe2+

Mn2+
3+

5 Fe

Mn2+

+

Fe3+

+ 5 e+ 4H O
2

Mn2+ + 4H2O + 5Fe3+


Slide 40

Balancing Equations

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยาในเบส
1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารีดกั ชัน
และดุลแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยา ยกเว้น H และ O
2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+
3. ดุลประจุของแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาโดยการเติมอิเล็กตรอน
4. ทาจานวนอิเล็กตรอนที่ให้ และที่รับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
5. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน

วิธีเดียวกับปฏิกริ ิยา
ในกรด

6. เปลีย่ น H+ ให้ เป็ น H2O โดยการเติม OH - ทั้งสองข้ าง
7. กาจัดนา้ ทีม่ อี ยู่ในสมการทั้ง 2 ข้ าง

+ C2O4223  2H O + 3 C2O4
- + 2  4H
2MnO
2

+
3
e
4
สมการที
ด่ ุลเรียบร้ อยแล้ วคือ
4OH- + 2MnO4 -+ 2H O + 3C2O424OH- + 2MnO4 - + 3C2O42MnO4-

2

+

2

MnO2 + CO323  2CO32- + 3  4H+ + 3  2e2 MnO2 + 2  2H2O
2MnO2 + 6CO32- + 4H+ + 4OH2MnO2 + 6CO32- +

2H2O


Slide 41

ทาแบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ 2-4
เพือ่ ทบทวนความเข้ าใจ ด้ วยนะคะ
ระวังจะเรียนเรื่องต่ อไป ไม่ เข้ าใจเน้ อ


Slide 42

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ1(ก)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

สมการทีด่ ุลเรียบร้ อยแล้ วคือ
Al= 0
H=+1

2 Al(s)

+ 362H+ (aq)
ตัวรีดวิ ซ์

Al=+3

H= 0

2 Al3+(aq) + 3 H2 (aq)

เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 3 2 = 6
ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง = 12 = 2 3 = 6


Slide 43

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ1(ข)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

สมการทีด่ ุลเรียบร้ อยแล้ วคือ
S= -2
O=0

2 H2S (s) + 2 323 O2 (g)
ตัวรีดวิ ซ์

S=+4

2 SO2 (g) +

เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 6
ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง = 23 = 6

O = -2

2 H2O (aq)


Slide 44

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ1(ค)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

สมการทีด่ ุลเรียบร้ อยแล้ วคือ
Cu= 0

N=+5

Cu=+2

3 Cu(s) + 2HNO3 (aq)
ตัวรีดวิ ซ์

N= +2

3Cu2+(aq) + 2NO (g) + H2O (l)

เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 2 3 = 6
ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง = 3 2 = 6


Slide 45

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ1(ง)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

Cr = +6

Cl = -1

Cr2O72-(aq) + 3 2Cl-(aq) + 14 H+(aq)
ตัวออกซิไดซ์

Cr =+3

Cl = 0

2Cr3+(aq) + 3 Cl2 (g) +7 H2O (l)

เลขออกซิเดชัน ลดลง = 32 = 6
ตัวรีดวิ ซ์ เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 12 =2 3 = 6


Slide 46

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ1(จ)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

Mn = +7

S= -2

2 MnO-4 (aq)+ 5 S2-(aq) + 4H+(aq)
ตัวออกซิไดซ์

Mn=+2

S= 0

2 Mn2+(aq) +8 H2O (l) + 5S (s)

เลขออกซิเดชัน ลดลง = 5 2 = 10
ตัวรีดวิ ซ์ เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 2 5 = 10


Slide 47

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ1(ฉ)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชัน
1. หาเลขออกซิเดชันของสารทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. ทาเลขออกซิเดชันทีเ่ พิม่ ขึน้ และเลขออกซิเดชันทีล่ ดลงให้ เท่ ากัน
3. ดุลจานวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้ า ของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์

Zn = 0

Mn=+7

Zn=+2

3 Zn(s) + 2MnO4- (aq) + 4H2O (l)
ตัวรีดวิ ซ์

Mn= +4

3Zn2+(aq) +2MnO2 (aq) +8OH- (aq)

เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึน้ = 2 3 = 6
ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง = 3 2 = 6


Slide 48

แบบฝึ กหัด 9.2

2. จงดุลสมการต่ อไปนีโ้ ดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยา
ก.
ข.
ค.
ง.
ไม่ มีประโยชน์ อะไรที่จะดูเฉลย
ถ้ าไม่ ลองทามาก่อน


Slide 49

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ2(ก)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยาในกรด
1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารี ดกั ชัน
และดุลแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยา ยกเว้ น H และ O
2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+
3. ดุลประจุของแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาโดยการเติมอิเล็กตรอน
4. ทาจานวนอิเล็กตรอนทีใ่ ห้ และทีร่ ับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
5. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน
+4

+2

MnO2 (s) + Fe2+(aq) + H+(aq)
2+
2 Fe

สมการทีด่ ุลเรียบร้+อยแล้ วคือ MnO
2 + 4H + 2e

MnO2 +

4H+

+ 2Fe2+

+2

+3

Mn2+(aq) + Fe3+(aq) + H2O(l)
3+ +
Fe
e
2
2
Mn2+ + 2H2O

Mn2+ + 2H2O + 2Fe3+


Slide 50

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ2(ข)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยาในกรด
1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารี ดกั ชัน
และดุลแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยา ยกเว้ น H และ O
2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+
3. ดุลประจุของแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาโดยการเติมอิเล็กตรอน
4. ทาจานวนอิเล็กตรอนทีใ่ ห้ และทีร่ ับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
5. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน
0

+4

Cl2 (g) + SO2 (g) + H2O (l)
SO2 + 2H2O
สมการทีด่ ุลเรียบร้ อยแล้ วคือ
Cl2 + 2eCl2 + SO2 + 2 H2O

-1

+6

SO4 2-(aq) + Cl-(aq) + H+ (aq)
SO4 2- +
2 Cl-

4H+

+ 2e-

SO4 2- + 2Cl- +

4H+


Slide 51

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ2(ค)

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยาในเบส
1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารีดกั ชัน
และดุลแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยา ยกเว้น H และ O
2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+
3. ดุลประจุของแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาโดยการเติมอิเล็กตรอน
4. ทาจานวนอิเล็กตรอนที่ให้ และที่รับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
5. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน
6. เปลีย่ น H+ ให้ เป็ น H2O โดยการเติม OH - ทั้งสองข้ าง
7. กาจัดนา้ ที่มีอยู่ในสมการทั้ง 2 ข้ าง
+3

+5

+6

-1

Cr(OH)3(s) + ClO3 +
CrO42- (aq) + Cl-(aq) + H2O (l)
22 Cr(OH)3 + 2H2O
2CrO4
+ 2 5H+ + 23e+
ClO
Cl
6H
+
+ 3H2O
6e
สมการที3 ด่ ุล+
เรียบร้ อยแล้ วคือ
2CrO42-+ Cl- + 3H2O + 4H+ + 4OH4OH- + 2Cr(OH)3 + ClO32Cr(OH)3 + ClO3- + 4OH2CrO42- + Cl- + 5H2O
-(aq)

OH-(aq)


Slide 52

การดุลปฏิกริ ิยารีดอกซ์ โดยใช้ ครึ่งปฏิกริ ิยาในเบส

แบบฝึ กหัด 9.2 ข้ อ2(ง)

1. แยกปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ออกเป็ นครึ่งปฏิกริ ิยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกริ ิยารีดกั ชัน
และดุลแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยา ยกเว้น H และ O
2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+
3. ดุลประจุของแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาโดยการเติมอิเล็กตรอน
4. ทาจานวนอิเล็กตรอนที่ให้ และที่รับในแต่ ละครึ่งปฏิกริ ิยาเท่ ากัน
5. รวมสองครึ่งปฏิกริ ิยาเข้ าด้ วยกัน
6. เปลีย่ น H+ ให้ เป็ น H2O โดยการเติม OH - ทั้งสองข้ าง
7. กาจัดนา้ ที่มีอยู่ในสมการทั้ง 2 ข้ าง
+7

- (aq)

+4

2-(aq)

+ SO3 + H2O (l)
2MnO4 + 24H + 23e
2- + H O
SO
3
สมการทีด่ ุลเรียบร้ 3อยแล้ วคื3อ
2MnO4- + 3SO32-+ 2H + 2OH2MnO4- + 3SO32- + H O

MnO4

+

-

2

+

2

+4

+6

MnO2 (s) + SO42-(aq) +OH- (aq)
2 MnO2+ 2 2H2O
23SO4 + 3 2H+ + 3 2e2MnO2 + 3SO42-+ H2O + 2OH2MnO2 + 3SO42- + 2OH-


Slide 53

แบบฝึ กหัดที่ 9.2 ข้ อ 3
จงเขียนและดุลสมการโดยใช้ครึ่ งปฏิกิริยา เมื่อเติมสารละลายโซเดียมซัลไฟด์ ลงใน
สารละลายไดโครเมตไอออนซึ่ งมีสีส้มและมีสมบัติเป็ นกรด สารละลายเปลี่ยนจาก
สี ส้มเป็ นสี เขียวของของโครเมียม (III)ไอออน และมีตะกอนสี ขาวเกิดขึ้นสักครู่
ตะกอนเปลี่ยนเป็ นสี เหลืองอ่อนของกามะถัน

Na+ Na+42SS2-2Cr2O7 + 14H +
+

4S
8e-

4 S2-(aq) + Cr2O7 (aq) +14H+ (aq)

2

+ 42e

Cr3+ +

-

7H2O

4S (s) + 4Cr3+ (aq) + 7H2O (l)


Slide 54

แบบฝึ กหัดที่ 9.2 ข้ อ 4
จงเขียนและดุลสมการโดยใช้ครึ่ งปฏิกิริยาเมื่อเติมสารละลายของไอโอไดด์ไอออนลง
ในสารละลายเปอร์ แมงกาเนตไอออนซึ่ งมีสีม่วงแดง ปรากฏว่าสี ม่วงแดงจางหายไป
เกิดเป็ นตะกอนสี ดาของแมงกานีส(IV)ออกไซด์ และไอโอเดตไอออนสารละลายมี
สมบัติเป็ นเบส

I- +

IO3- +

3H2O

2 MnO4- + 24H + 23e
I- + 2MnO4- + 2H + 2OH+

-

+

I-(aq) +2MnO4-(aq) + H2O(l)

6H+

+

6e-

2 MnO2 + 2 2H O
IO3- + 2MnO2 + H O +
2

2

2OH-

IO3-(aq) + 2MnO2 (s) + 2OH-(aq)


Slide 55