วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science) ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL Marine Biology วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science) ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL 

Download Report

Transcript วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science) ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL Marine Biology วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science) ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL 

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Marine Biology
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
 เป็ นการศึกษาเกีย
่ วกับสิ่ งมีชีวติ ในทะเล ลักษณะการ
ดารงชีวติ และระบบนิเวศในทะเล
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
การจาแนกเขตในทะเล
แบ่งตามพื้นน้ า (Pelagic province)
 Vertical Direction
- Neritic zone พื้นน้ าส่ วนที่อยูเ่ หนือไหล่ทวีป
- Oceanic zone พื้นน้ าบริ เวณมหาสมุทรเปิ ด (ถัดจากไหล่ทวีป
ออกมา)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Horizontal direction
- Photic zone (0-200 m)
- Aphotic zone (200-1000 m)
- Bathypelagic zone (1000-4000 m)
- Abyssopelagic zone (more than 4000 m)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
แบ่ งตามพืน้ ดิน (Benthic province)







Supralittoral
Littoral (Intertidal)
Sublittoral (Subtidal)
Bathyal zone
Abyssal zone
Hadal zone
Deep sea trench
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Marine Life
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Pelagic organisms

Pleuston
สิ่ งมีชีวิตที่ไม่สามารถว่ายทวนกระแสน้ าได้ แต่จะมีส่วนของร่ างกายที่
ยืน่ พ้นผิวน้ าขึ้นไปในอากาศเรี ยกว่า sail
ex. Protogese Man of War (Physalia sp.)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Plankton
แบ่งตามวงชีวติ
1. Holoplankton
ตลอดชีวติ เป็ นแพลงก์ตอน
2. Meroplankton
บางช่วงของชีวติ เป็ นแพลงก์ตอน
3. Typchoplankton
สัตว์หน้าดินที่ถูกพัดพาขึ้นมาอยูใ่ นมวลน้ า
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
แบ่ งตามความเป็ นพืชหรือสั ตว์

Phytoplankton
primary producer, Mineralizer ในทะเล
ตัวอย่างเช่น ไดอะตอม, ไดโนแฟลกเจลเลท, Chlorella, Isochrysis

Zooplankton
พบตั้งแต่ Protozoa ถึง Chordate
Nekton
Fish
 Stenohaline fish
 Euryhaline fish
 permanent residents
 visitors

Benthic organisms
•สัตว์ทะเลที่มีกระดูกสันหลังหรื อไม่มีกระดูกสันหลังที่หากิน หรื อ
อาศัยอยูบ่ ริ เวณพื้นท้องทะเลหรื อมีความเกี่ยวข้องกับพื้นท้องทะเล
•สัตว์ในกลุ่มนี้มีมากมายและมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
•คิดเป็ น 98% ของสัตว์ท้ งั หมดในทะเล
แบ่ งตามทีอ่ ยู่
Epifauna (epibenthos)
organisms
 Infauna
 Boring animals

mobile & sessile
Size classification of benthic organism
Macrofauna (macrobenthos) > 0.5 mm.
ตัวใหญ่กว่าอนุภาคดิน ฝังตัวด้วยการมุด ขุดรู หรื ออยูท่ ี่ผิว
 Meiofauna
< 0.5 mm.
ตัวขนาดเล็กกว่าอนุภาคดิน เคลื่อนตัวตามซอกดิน
 Microfauna
< 0.1 mm.
เกาะติดกับอนุภาคดิน

Epibenthos
Epibenthic noncolonial organisms
 hold fasts เช่น stalked barnacles, สาหร่ ายทะเล
 Roots เช่น stalk crinoids, หญ้าทะเล
 cement เช่น หอยนางรม, acorn barnacles
 basal disk เช่น ดอกไม้ทะเล เคลื่อนที่ได้
 byssal threads เคลื่อนที่ได้โดยสร้าง threads ใหม่
 cirri เช่น ดาวขนนก
 สู ญญากาศ เช่น หอยหมวกเจ๊ก ลิ่นทะเล หอยเป๋ าฮื้อ
Colonial organisms
Hold fast hydrozoa
 cement ใน ปะการัง
 ฟองน้ า เจาะไชพื้นที่เป็ น CaCO3

Infauna
1. Free living เช่น errant polychaetes, หอยเสี ยบ
หอยแครง
2. Burrowing เช่น amphipods ปู
3. Tube dwelling เช่น sedentary polychaetes
4. Interstitial forms เช่น meiofauna
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Benthic plant
Macroalgae and seaweed อยูต่ ามพื้นหิ นหรื อพื้น
ทราย ต่ากว่าเขตน้ าลงต่าสุ ด
่ ริ เวณที่ลุ่มน้ าเค็ม (salt marsh)
 พืชดอก อาศัยอยูบ
 seagrass

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
BASIC ECOLOGICAL
PRINCIPLES
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
A. Definition of Ecology
 Word "ecology" coined from Greek word "oikos",
which means "house" or place to live"
 The study of the interaction of organisms with their
environments
 involves understanding biotic and abiotic factors
influencing the distribution and abundance of living
things
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
B. Scope of Ecology
1. population growth
2. competition between species
3. trophic (feeding) relationships
4. symbiotic relationships
5. interaction with the physical environment
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
 Ecology
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
and Ecosystem
How difference?
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Marine Ecosystem
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ระบบนิเวศน์ในทะเลที่มนุษย์สนใจ ส่ วนใหญ่จะอยูบ่ ริ เวณ
ชายฝั่งตั้งแต่เขตน้ าขึ้นน้ าลงจนถึงไหล่ทวีป
 สิ่ งมีชีวต
ิ ที่อาศัยอยูใ่ นบริ เวณดังกล่าวยังได้รบั อิทธิผลจากปัจจัย
ทางสภาวะแวดล้อมที่มาจากพื้นทวีป

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Rocky shore
• หาดหิ น เป็ นบริ เ วณที่ แ สดงความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งปั จ จัย ทาง
กายภาพ และปั จจัยทางชี วภาพที่ มีต่อการแพร่ กระจายของพืช
และสัตว์ทะเลอย่างชัดเจน
• การกระจายของพืชและสัตว์ทะเลในหาดหิ นจะมี ลกั ษณะเป็ น
กลุ่มๆเป็ นแนวตามระดับ ความสู งวัดจากระดับน้ าทะเล การผุพงั
หรื อการกัดเซาะของน้ าทะเลทาให้หินเกิดเป็ นโพรงหรื อซอกเล็ก
ซอกน้อย ทาให้มีสิ่งมี ชีวิตอาศัยอยู่ม ากมาย รวมทั้งเป็ นแหล่ ง
หลบภัยของสัตว์น้ าวัยอ่อนได้อย่างดี
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ปัจจัยทางสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของ
ระบบนิ เวศหาดหิ นคื อ คลื่ นลม น้ าขึ้นน้ าลง การเปลี่ยนแปลง
ความเค็ม อุณหภูมิ และสภาวะการสูญเสี ยน้ า
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ขณะน้ า ลงมัก จะมี น้ า ทะเลที่ ค ้างอยู่ต ามแอ่ ง หรื อ ซอกหิ น เรา
เรี ยกว่าแอ่งหิ น (tide pool) พืชและสัตว์ที่อาศัยอยูใ่ นแอ่งนี้
จะต้อ งมี ก ารปรั บ ตัว ที่ ดี ม ากต่ อ การเปลี่ ย นแปลงความเค็ม
อุณหภูมิและออกซิ เจนในรอบวัน สัตว์ทะเลที่พบมากในแอ่งหิ น
ได้แก่ ปูหิน ปูเสฉวน ฟองน้ า ดอกไม้ทะเล กุง้ และหอยฝาเดียว
ชนิดต่างๆ
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Sandy beach Ecosystem
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ปั จจัยสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อการดารงชีวติ ของสิ่งมีชีวิตในหาด
ทรายได้แก่การกระทาของคลื่น ลม น้ าขึ้นน้ าลง และความร้อน
จากดวงอาทิตย์
 สิ่ งมีชีวต
ิ ที่อาศัยอยูใ่ นหาดทรายจาเป็ นต้องมีการปรับตัว เช่น มี
เปลือกหนา ฝังตัวอยูใ่ นพื้นทรายในช่วงน้ าลง เป็ นต้น
 หาดทรายจะมีลก
ั ษณะของพื้นทะเลและขนาดของเม็ดทราย
แตกต่างกันไปตามลักษณะทางภูมิศาสตร์และฤดูกาล

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Mangrove Ecosystem
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)


ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
เป็ นสังคมพืชที่รวมกันอยูใ่ นเขตน้ าขึ้นน้ าลงบริ เวณพืน้ เลน พบมาก
บริ เวณชายฝั่งทะเลระหว่างเส้นละติจูด 25 องศาเหนือและใต้
พืชในป่ าชายเลนจะมีคุณสมบัติพิเศษ กล่าวคือสามารถเจริ ญเติบโตได้ดี
ในดินเลนค่อนข้างเค็ม มีระบบรากที่ซบั ซ้อน เพื่อช่วยในการหายใจ และ
เพิ่มประสิ ทธิภาพการยึดเกาะ
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ประโยชน์ ของป่ าชายเลน (ในเชิงนิเวศน์ )






Primary productivity
Nursery ground
Wave breaker
Land builder
Coastal erosion
Fisheries
โกงกาง
แสม
เสม็ด
ตะบูน
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ผลกระทบจากการใช้ ประโยชน์ ป่าชายเลน
 Forest exploitation
 Mining activities
 Coastal development
 Conversion to agriculture
 Conversion to aquaculture
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Seagrass Ecosystem
หญ้ าทะเล คืออะไร
พืชชั้นสูง มีราก ลาต้น ดอก
 ใบเลี้ยงเดี่ยว
 ลาต้นอยูใ่ ต้ดิน (rhyzome)
 อาศัยบริ เวณชายฝั่งทะเลน้ าตื้นเขต ร้อน และเขตอบอุ่นที่มีพ้น
ื
ทะเลที่ต้ งั แต่ทรายหยาบถึงโคลน

ความสาคัญของหญ้ าทะเล
ดึงสารอาหารในดินเข้ าสู่ ระบบนิเวศ
 เพิม
่ ผลผลิตทางทะเล (สั งเคราะห์ แสง)
 เพิม
่ พืน้ ที่ผวิ สาหรับสิ่ งมีชีวติ ในทะเล (ทั้งพืช และสั ตว์ )
 แหล่ งอาหาร
 แหล่ งวางไข่ หาอาหารของสั ตว์ นา้ วัยอ่ อน
 แหล่ งหลบซ่ อนศัตรู
 ป้องกันชายฝั่ง (ระบบราก และลาต้ น)

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Coral Reef Ecosystem
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ปะการังคืออะไร?
แนวปะการังคืออะไร
ระบบนิเวศน์ แนวปะการังคืออะไร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ปะการังแบ่ งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆคือ

Hermatypic coral เป็ นกลุ่มที่มีสาหร่ าย zooxanthallae
อาศัยอยูใ่ นตัวปะการัง ทาให้เพิม่ calcification rate จนสามารถ
สร้างตัวเป็ นแนว (Reef)ได้ พบในเขตร้อนและเขตอบอุ่นที่แสงส่ องถึง

Ahermatypic coral ไม่มีสาหร่ าย zooxanthallae อาศัยอยู่
ในตัวปะการัง ไม่สามารถสร้างแนวได้
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Reef Types
 Fringing
reef
 Barrier reef
 Atoll
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ประโยชน์ ของแนวปะการัง
เป็ นแหล่ งอาหารของมนุษย์
 เป็ นแหล่ งอนุบาลสั ตว์ นา้ วัยอ่ อน เป็ นทีอ
่ ยู่อาศัยและหลบภัย
ของสั ตว์ นา้
 ก่ อกาเนิดหาดทราย
 ช่ วยป้องกันการกัดเซาะพังทลายของชายฝั่งจากการกระทาของ
คลืน่ ลม
 เป็ นแหล่ งท่ องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญ
 เป็ นแหล่ งผลิตสารเคมีที่สามารถนามาสกัดตัวยาได้ หลายชนิด

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Estuarine ecosystem
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
หมายถึงระบบนิเวศบริ เวณปากแม่น้ า
 ปากแม่น้ าเป็ นบริ เวณที่มีการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้ าใน
รอบวันค่อนข้างสู ง จากอิทธิพลของน้ าขึ้นน้ าลง
 สิ่ งมีชีวต
ิ ที่จะอาศัยอยูใ่ นบริ เวณดังกล่าวได้จะต้องมี
ความสามารถในการปรับตัวเกี่ยวกับสมดุลของน้ าและไอออน
ในร่ างกาย
 Osmoregulator and Osmoconformer
