ทรัพย์ สินทางปั ญญา: สิ่งที่ท่านอาจยังไม่ ร้ ู อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ สิ่งที่ท่านอาจจะยังไม่ ร้ ู (1) • มหาวิทยาลัยมีศนู ย์ทรัพย์สนิ ทางปั ญญา (Intellectual Property Office of Prince of Songkla.

Download Report

Transcript ทรัพย์ สินทางปั ญญา: สิ่งที่ท่านอาจยังไม่ ร้ ู อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ สิ่งที่ท่านอาจจะยังไม่ ร้ ู (1) • มหาวิทยาลัยมีศนู ย์ทรัพย์สนิ ทางปั ญญา (Intellectual Property Office of Prince of Songkla.

ทรัพย์ สินทางปั ญญา:
สิ่งที่ท่านอาจยังไม่ ร้ ู
อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ
สิ่งที่ท่านอาจจะยังไม่ ร้ ู (1)
• มหาวิทยาลัยมีศนู ย์ทรัพย์สนิ ทางปั ญญา (Intellectual Property Office of
Prince of Songkla University, IPOP) ชั ้น 12 อาคาร LRC
• ตัวแทนของมหาวิทยาลัยในการบริหารจัดการทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
(การคุ้มครองสิทธิ การนาไปใช้ ประโยชน์ และการบังคับใช้ สทิ ธิตามกฎหมาย)
• ระเบียบว่าด้ วยทรัพย์สนิ ทางปั ญญา และ ระเบียบว่าด้ วยลิขสิทธิ์
สิ่งที่ท่านอาจจะยังไม่ ร้ ู (2)
• ทรัพย์ สินทางปั ญญาเป็ นสิ่งที่เกี่ยวข้ องกับทุกคน
– ส่ วนตัว (การสร้ างสรรค์ ผลงาน การใช้ การละเมิดสิทธิ)
– หน้ าที่การงาน (ไม่ ว่าสถานะภาพจะเป็ นข้ าราชการ หรือ
พนักงานมหาวิทยาลัย ทุกคนคือลูกจ้ าง และมีมหาวิทยาลัย
เป็ นนายจ้ าง)
– ความเป็ นเจ้ าของในทรัพย์ สินทางปั ญญา
(หน่ วยงาน vs ผู้สร้ างสรรค์ , ผู้ประดิษฐ์ )
• พรบ.ลิขสิทธิ์
• พรบ.สิทธิบัตร
– ประเภทของทรัพย์ สินทางปั ญญา และขอบเขตการคุ้มครอง
จานวนการยื่นคาขอรับความคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
25
Patent
23
Design Patent
21
20
Petty patent
15
Copyright
15
14
Trademark
15
14
Trade secret
10
9
8
8
7
7
7
5
5
4
2
2
1
0
ก่ อน IPOP
2550
2551
2552
2553
2554
2555
จานวนทรัพย์สินทางปั ญญา แยกตามหน่วยงาน
60
54
50
40
30
36
29
20
15
10
10
0
9
6
8
9
8
5
3
1
1
1
1
1
1
1
พรบ.สิทธิบัตร (พ.ศ.2542)
• มาตรา ๑๑ สิทธิขอรับสิทธิบตั รสาหรับการประดิษฐ์ ซงึ่ ลูกจ้ างได้ ประดิษฐ์ ขึ ้น โดยการทางานตามสัญญา
จ้ างหรื อโดยสัญญาจ้ างที่มีวตั ถุประสงค์ให้ ทาการประดิษฐ์ ย่ อมตกได้ แก่ นายจ้ างเว้ นแต่ สัญญาจ้ างจะ
ระบุไว้ เป็ นอย่ างอื่น
ความในวรรคหนึง่ ให้ ใช้ บงั คับแก่กรณีที่ลูกจ้างทีท่ าการประดิ ษฐ์ สิ่ง หนึ่งสิ่ งใดด้วยการใช้วิธีการ สถิ ติหรื อ
รายงานซึ่งลูกจ้างสามารถใช้หรื อล่วงรู้ได้เพราะการเป็ นลูกจ้างตามสัญญาจ้างนัน้ แม้ว่าสัญญาจ้างจะมิ ได้
เกี ่ยวข้องกับการประดิ ษฐ์
• มาตรา ๑๒ เพื่อส่งเสริ มให้ มีการประดิษฐ์ และเพื่อความเป็ นธรรมแก่ลกู จ้ างในกรณีที่การประดิษฐ์ ของ
ลูกจ้ างตามมาตรา ๑๑ วรรคหนึง่ ถ้ านายจ้ างได้ รับประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรื อนาสิ่งประดิษฐ์ นนไปใช้
ั้
ให้ ลกู จ้ างมีสิทธิได้ รับบาเหน็จพิเศษจากนายจ้ างนอกเหนือจากค่าจ้ างตามปกติได้ ให้ ลูกจ้ างที่ทาการ
ประดิษฐ์ ตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง มีสิทธิได้ รับ บาเหน็จพิเศษจากนายจ้ าง สิทธิที่จะได้ รับบาเหน็จพิเศษจะ
ถูกตัดโดยสัญญาจ้ างหาได้ ไม่................
• มาตรา ๑๓ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริ มการประดิษฐ์ ของข้ าราชการ หรือพนักงานองค์ การของรัฐ
หรือรั ฐวิสาหกิจ ให้ ถือว่ าข้ าราชการ หรือพนักงานองค์ การของรั ฐหรือ รั ฐวิสาหกิจมีสิทธิ
เช่ นเดียวกับลูกจ้ างตามความในมาตรา ๑๒ เว้ นแต่ระเบียบของทางราชการหรื อองค์การของรัฐหรื อ
รัฐวิสาหกิจนัน้ จะกาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น
พรบ. ลิขสิทธิ์ (พ.ศ. 2537)
• มาตรา ๙ งานที่ผ้ ูสร้ างสรรค์ ได้ สร้ างสรรค์ขึ ้นในฐานะพนักงานหรือลูกจ้ าง ถ้ ามิได้ ทาเป็ นหนังสือ
ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น ให้ ลิขสิทธิ์ในงานนันเป็
้ นของผู้สร้ างสรรค์ แต่นายจ้างมีสิทธิ นางานนัน้ ออก
เผยแพร่ ต่อสาธารณชนได้ตามทีเ่ ป็ นวัตถุประสงค์แห่งการจ้างแรงงานนัน้
• มาตรา ๑๐ งานที่ผ้ ูสร้ างสรรค์ ได้ สร้ างสรรค์ขึ ้นโดยการรับจ้างบุคคลอืน่ ให้ผ้ ูว่าจ้ างเป็ นผู้มีลิขสิทธิ์
ในงานนัน้ เว้นแต่ผูส้ ร้างสรรค์และผูว้ ่าจ้างจะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื น่
• มาตรา ๑๑ งานใดมีลกั ษณะเป็ นการดัดแปลงงานอันมีลิขสิ ทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินีโ้ ดยได้รบั
อนุญาตจากเจ้าของลิ ขสิ ทธิ์ ให้ ผ้ ทู ี่ได้ ดดั แปลงนันมี
้ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้ ดดั แปลงตามพระราชบัญญัตินี ้
แต่ทงนี
ั ้ ้ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของเจ้ าของลิขสิทธิ์ที่มีอยู่ในงานของผู้สร้ างสรรค์เดิมที่ถกู ดัดแปลง
• มาตรา ๑๒ งานใดมีลกั ษณะเป็ นการนาเอางานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี ้ มารวบรวมหรื อ
ประกอบเข้ ากันโดยได้ รับอนุญาตจากเจ้ าของลิขสิทธิ์ หรื อเป็ นการนาเอาข้ อมูลหรื อสิ่งอื่นใดซึง่ สามารถ
อ่านหรื อถ่ายทอดได้ โดยอาศัยเครื่ องกลหรื ออุปกรณ์อื่นใดมารวบรวมหรื อประกอบเข้ ากัน หากผู้ที่ได้
รวบรวมหรื อประกอบเข้ ากันได้ รวบรวมหรื อประกอบเข้ ากันซึง่ งานดังกล่าวขึ ้นโดยการคัดเลือกหรื อ
จัดลาดับในลักษณะซึง่ มิได้ ลอกเลียนงานของบุคคลอื่น ให้ ผ้ ทู ี่ได้ รวบรวมหรื อประกอบเข้ ากันนันมี
้
ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้ รวบรวมหรื อประกอบเข้ ากันตามพระราชบัญญัตินี ้ แต่ทงนี
ั ้ ้ไม่กระทบกระเทือนสิทธิ
ของเจ้ าของลิขสิทธิ์ที่มีอยู่ในงาน หรื อข้ อมูลหรื อสิ่งอื่นใด ของผู้สร้ างสรรค์เดิมที่ถกู นามารวบรวมหรื อ
ประกอบเข้ ากัน
สิ่งที่ท่านอาจจะยังไม่ ร้ ู (3)
ลิขสิทธิ์ทางปั ญญา
ลิขสิทธิ์ = ทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
ลิขสิทธิ์ คุ้มครองการประดิษฐ์ ผลงานวิจยั
ต้ องเลือกอย่างใดอย่างหนึง่ เท่านันระหว่
้
างสิทธิบตั รกับการตีพิมพ์
ผลงานวิจยั
• สิทธิบตั รคุ้มครองเฉพาะ
•
•
•
•
ประเภทของทรัพย์ สินทางปั ญญา
สิทธิบัตร/
อนุสิทธิบัตร
ลิขสิทธิ์
ต้ องยื่นขอรับ
การคุ้มครอง
ไม่จาเป็ นต้ องยื่นขอรับการ
คุ้มครอง
(จดแจ้ ง)
อายุการ
คุ้มครอง
20/10 ปี
อายุการคุ้มครอง ตลอดอายุ
ของผู้สร้ างสรรค์ และต่ออีก
50 ปี นับจากที่ผ้ สู ร้ างสรรค์
เสียชีวิต
ต่ออายุได้ ทกุ ๆ
10 ปี
คุ้มครอง การ
ประดิษฐ์
(ผลิตภัณฑ์
กรรมวิธี และ
การใช้ งาน)
คุ้มครองผลงาน วรรณกรรม
จิตรกรรม ประติมากรรม
ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์
นาฏกรรม
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
คุ้มครอง
สัญลักษณ์
เครื่ องหมาย สี
กลุม่ ของสี
ตัวอักษร
เครื่องหมาย
การค้ า
ความลับ
ทางการค้ า
ต้ องยื่นขอรับการ ไม่จาเป็ นต้ องยื่น
คุ้มครอง
ขอรับการคุ้มครอง
(จดแจ้ ง)
สิ่งบ่ งชีท้ าง ภูมปิ ั ญญา
ภูมศิ าสตร์ ท้ องถิ่นไทย
ต้ องยื่นขอรับ
การคุ้มครอง
จดแจ้ ง
ตราบเท่าที่ยงั คง
เป็ นความลับอยู่
ตลอดไป (หาก
ไม่ถกู ระงับการ
ใช้ งาน)
ตลอดไป
คุ้มครองข้ อมูล
ความลับทางการ
ค้ า เช่น สูตรการ
ผลิต ฐานข้ อมูล
ลูกค้ า
คุ้มครองผลผลิต องค์ความรู้ของ
ที่มีความเกี่ยว
กลุม่ บุคคล
โยงกับลักษณะ ท้ องถิ่น และ
ทางภูมศิ าสตร์ ศิลปวัฒนธรรม
พื ้นบ้ าน
ลิขสิทธิ์คืออะไร
• สิทธิแต่ ผ้ ูเดียว(Exclusive rights) ที่จะกระทาการใดๆตาม พ.ร.บ.
ลิขสิทธิ์
• กฎหมายลิขสิทธิ์จะคุ้มครองเฉพาะรูปแบบของการแสดงออกของ
ความคิด (expression of ideas) ไม่ ค้ ุมครองถึงตัวความคิดซึ่งยังไม่ ได้
ถ่ ายทอดปรากฏออกมา
• งานลิขสิทธิ์ไม่ จาเป็ นต้ องมีความใหม่ (novelty) ขอเพียงแต่ ให้ เกิด
จากความคิดริเริ่มของตนเอง (original) ไม่ ลอกเลียนแบบใคร
• กฎหมายคุ้มครองเจ้ าของลิขสิทธิ์มิให้ ผ้ ูอ่ นื ลอกเลียนแบบหรือทาซา้
ตลอดจนห้ ามมิให้ มีการใช้ ประโยชน์ จากรูปแบบของการแสดงออก
ของความคิดของผู้สร้ างสรรค์ โดยไม่ ได้ รับอนุญาต
• อายุการคุ้มครองของลิขสิทธิ์ซ่ งึ เป็ นการแสดงออกของความคิดจึงมี
ระยะเวลายาวนานกว่ าการคุ้มครองตัวความความคิดซึ่งเป็ นเรื่ องของ
การคุ้มครองการประดิษฐ์ ภายใต้ กฎหมายสิทธิบัตร
งานใดบ้ างที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ ความคุ้มครอง
• งานสร้ างสรรค์ ประเภท “วรรณกรรมและศิลปกรรม” 9 ประเภท
(1) วรรณกรรม เช่ นหนังสือหรื อสิ่งเขียนสิ่งพิมพ์ ต่างๆ สุนทรพจน์ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ (software) ฯลฯ
(2) นาฏกรรม เช่ น ท่ ารา ท่ าเต้ น การแสดงโดยวิธีใบ้ ฯลฯ
(3) ศิลปกรรม เช่ น ภาพเขียน ภาพวาด ภาพถ่ าย รู ปปั ้น สิ่งปลูกสร้ าง เป็ นต้ น
(4) ดนตรี กรรม ได้ แก่ งานเพลงต่ างๆ คาร้ อง ทานอง และการเรี ยบเรี ยงเสียง
ประสาน
(5) โสตทัศนวัสดุ เช่ น วิดีโอเทป
(6) ภาพยนตร์ และเสียงประกอบของภาพยนตร์
(7) สิ่งบันทึกเสียง เช่ น แผ่ นเสียง เทป แผ่ นซีดี เป็ นต้ น
(8) งานแพร่ เสียงแพร่ ภาพ หมายถึงการกระจายเสียงทางวิทยุกระจายเสียง
และการกระจายภาพและเสียงทางวิทยุโทรทัศน์
(9) งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรื อแผนกศิลปะ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
• คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่นาไปใช้ กับเครื่ องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางานหรือเพื่อให้ ได้ รับผลอย่ างหนึ่ง
อย่ างใด เช่ น บันทึกข้ อมูลหรือดึงข้ อมูลออกมาใช้
• การใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้องผ่ านกระบวนการอ่ าน ถึงแม้ ว่า
รูปแบบการแสดงออกของความคิดในเรื่องโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ไม่ อาจเข้ าใจได้ โดยการอ่ านตามปกติของมนุษย์ แต่ สามารถเข้ าใจ
ได้ โดยตรงจากการอ่ านของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซ่ งึ เทียบได้ กับการ
อ่ านวรรณกรรมหนังสือของคนเราโดยทั่วไป
Patenting Software
TIP 1: Do you really need a patent for your software-related invention?
•
•
•
•
In many countries, computer programs (source or object code) are protected under copyright.
– Major advantage of copyright protection lies in its simplicity.
• Copyright protection does not depend on any formalities (registration or the deposit
of copies.)
• International copyright protection is automatic (as soon as a work is created)
• Relatively long period of protection
– A patent must be applied in each country in which you seek patent protection.
• Comply with both formal and substantive requirements, and a patented invention
shall be disclosed to the public.
• Legally and technically complex.
• Term of protection is much shorter(20 years from the filing date of the application)
• Costs for obtaining and enforcing a patent may be costly.
Copyright protection extends only to expressions, and not to ideas, procedures, methods of
operation or mathematical concepts as such.
Copyright does not protect the “ideas”underlying the computer program, which often have
considerable commercial value.
Feasibility of using other types of intellectual property, such as trademarks, industrial designs
and trade secret protection, may also be considered.
Patenting Software
TIP 2: What do you wish to protect from your competitors? Identify the core
part of your innovation.
• Software may be incorporated in a computer or an apparatus, such as a
household appliance or a car.
• But often, such software is created, reproduced and distributed on media
(such as diskettes, CD-ROMs or an online network) which are separate
from the hardware.
• Software may provide technical functions, such as controlling a machine
or regulating the room temperature. It may be used to monitor
communication network systems or provide interfaces between a
computer and a human being. Or, it may be used to process scientific,
financial, economic or social data in order to, for example, explore a new
scientific theory or seek the highest possible return on an investment.
• Depending on how the software is used together with the hardware, what
you wish to protect from your competitor may differ. The core part of your
software-related innovation may lie in an apparatus, a system, an
algorithm, a method, a network, the processing of data or the software
itself. Such considerations may help you assess the possibilities to obtain a
patent for your innovation.
Patenting Software
TIP 3: Is your innovation patentable? Not all types of softwarerelated innovation can enjoy patent protection.
(i) Invention must consist of patentable subject matter
(ii) Invention must be capable of industrial application (or, in certain countries, be useful)
(iii) Must be new (novel)
(iv) Must involve an inventive step (be non-obvious); and
(v) Disclosure of the invention in the patent application must meet certain formal and
substantive standards
In many countries, “inventions”are required to have a technical character, or to provide a
solution using laws of nature. Thus, mere economic theories, methods of doing
business, mathematical methods or computer programs as such are not
patentable “inventions”.
Invention must not be obvious to a person skilled in the art having regard to the prior art. It is not
enough that the claimed invention is new, i. e., that it is different from what exists in the state of
the art. But the difference between the claimed invention and the existing state of the art
should be significant and essential to the invention.
Therefore, it is most likely that it will not be possible to obtain a patent for a software-related
innovation that simply replaces existing technical and physical solutions with the same solutions
using software and a computer, insofar as such a replacement would be obvious to an average
engineer in the relevant technical field
Patenting Software
TIP 4: Do you need to protect your innovation abroad? Patentability
requirements are not always the same in each country.
In Europe, the European Patent Convention (EPC) expressly
excludes “computer program per se”and “methods of doing business
per se”from the patentable subject matter. Although there is no
definition of the term “invention”in the EPC, it is generally
understood that inventions under the patent law should have a
technical character. For example, methods for controlling an
industrial process, processing of data representing physical entities
(temperature, size, shape etc.) and the internal functions of the
computer itself are considered to have a technical character. A
computer system used in the field of finance may have a technical
character if the process is based on technical considerations relating
to how a computer works (for example, improvement of security),
rather than just on the consideration as to how the financial system
works.
Patenting Software
TIP 4: Do you need to protect your innovation abroad? Patentability
requirements are not always the same in each country.
On the other hand, in the United States of America (USA), there is no
specific exclusion of software or business methods from patentable
subject matter. The law states that the subject matter, to be patentable,
must be a useful process, machine, manufacture or composition of matter.
According to the US Supreme Court , the Congress intended the statutory
patentable subject matter to include “anything under the sun made by
man,”but the laws of nature, natural phenomena and abstract ideas are
three specific areas which are not patentable. For example, the Court of
Appeals for the Federal Circuit (CAFC) found that a software invention
(mathematical algorithm) to create a smooth display of numeric data on
an oscilloscope was patentable subject matter , because the claimed
invention as a whole was a practical application of an abstract idea
providing a “useful, concrete and tangible result.”Therefore, it may be that
certain software-related innovations are considered as patentable subject
matter in the USA, while the same innovations might fall outside of the
scope of patentable subject matter in Europe or Japan.
Source: http://www.wipo.int/sme/en/documents/software_patents.htm
สิ่งใดบ้ างที่ไม่ ถือเป็ นงานอันมีลิขสิทธิ์
• การคุ้มครองลิขสิทธิ์ไม่ ครอบคลุมถึงความคิด ขัน้ ตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้
หรื อวิธีทางาน แนวความคิด หลักการ การค้ นพบ หรื อทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
หรื อคณิตศาสตร์
• ข่ าวประจาวันและข้ อเท็จจริงต่ างๆ ที่มีลักษณะเป็ นเพียงข่ าวสาร ไม่ ใช่ ลักษณะ
ของงานริเริ่มสร้ างสรรค์ ในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรื อแผนกศิลปะ
• รั ฐธรรมนูญและกฎหมาย
• ระเบียบ ข้ อบังคับ ประกาศ คาสั่ง คาชีแ้ จง และหนังสือโต้ ตอบของกระทรวง
ทบวง กรม หรื อหน่ วยงานของรั ฐหรื อของท้ องถิ่น
• คาพิพากษา คาสั่ง คาวินิจฉัยและรายงานของทางราชการ
• คาแปลและการรวบรวมสิ่งต่ างๆ ข้ างต้ น ที่กระทรวง ทบวง กรมหรื อหน่ วยงาน
อื่นใดของรั ฐหรื อของท้ องถิ่นจัดทาขึน้
• ตัวอย่ างของสิ่งที่ไม่ ถือเป็ นงานลิขสิทธิ์ เช่ น รายชื่อของผู้ใช้ โทรศัพท์ (จาก ก-ฮ)
ในสมุดโทรศัพท์ ชื่อทั่วไป ชื่อเรื่ อง วลีสัน้ ๆ คาขวัญ รู ปแบบตัวหนังสือ เป็ นต้ น
•
•
สิทธิข้างเคียง (Neighboring Rights)
สิทธิท่ คี ล้ ายคลึงใกล้ เคียงกับลิขสิทธิ์ เช่ นสิทธิของนักแสดง (กลุ่มบุคคลซึ่ง
ถ่ ายทอดงานอันมีลขิ สิทธิ์ให้ แก่ สาธารณชนได้ รับชม ฟั ง เช่ น ผู้แสดง นัก
ดนตรี นักร้ อง นักเต้ น นักรา และผู้แสดงท่ าทาง ร้ อง กล่ าว พากย์ ฯ)
การคุ้มครองสิทธิของนักแสดง นักแสดงจะได้ รับการคุ้มครองสิทธิแต่ เพียงผู้
เดียวเกี่ยวกับการแสดงของตน
(1) แพร่ เสียงแพร่ ภาพ หรือเผยแพร่ ต่อสาธารณชน ในการแสดงของตน
(2) บันทึกการแสดงที่ยังไม่ มีการบันทึกไว้
(3) ทาซา้ สิ่งที่บันทึกการแสดง ที่บันทึกไว้ โดยไม่ ได้ รับอนุญาตหรือได้ รับอนุญาตเพื่อ
วัตถุประสงค์ อ่ นื หรือสิ่งบันทึกการแสดงที่เข้ าข้ อยกเว้ นการละเมิดสิทธิของนักแสดง
•
นักแสดงยังได้ รับการคุ้มครองสิทธิในกรณีท่ ีมีการใช้ ประโยชน์ จากการแสดง
ของตน (secondary use) คือหากมีการนาเอาสิ่งที่บันทึกเสียงการแสดง ซึ่งได้
นาออกเผยแพร่ เพื่อการค้ าแล้ วไปแพร่ เสียง หรื อเผยแพร่ ต่อสาธารณชน
โดยตรง จะต้ องจ่ ายค่ าตอบแทนที่เป็ นธรรมแก่ นักแสดง
(เว้ นแต่ จะตกลงไว้ เป็ นอย่ างอื่น)
•
•
สิทธิของเจ้ าของลิขสิทธิ์
กลุ่มของสิทธิ (bundle of rights) ซึ่งประกอบด้ วยสิทธิใหญ่ สอง
ประการคือ สิทธิทางเศรษฐกิจ (economic rights) และ สิทธิทาง
ศีลธรรม (moral rights)
สิทธิทางเศรษฐกิจ (economic rights) เจ้ าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่
เพียงผู้เดียวที่จะกระทาการแก่ งานของตนดังต่ อไปนี ้
(1) ทาซา้ คือการคัดลอก เลียนแบบ ทาสาเนา ทาแม่ พมิ พ์ บันทึกเสียง
บันทึกภาพ ไม่ ว่าโดยวิธีใด ในส่ วนอันเป็ นสาระสาคัญ ไม่ ว่าทัง้ หมด หรื อ
บางส่ วน และดัดแปลงคือการทาซา้ โดยเปลี่ยนรู ปใหม่ ปรั บปรุ งแก้ ไข
เพิ่มเติม หรื อจาลองงานต้ นฉบับในส่ วนอันเป็ นสาระสาคัญ ไม่ ว่าทัง้ หมด
หรื อบางส่ วน
(2) เผยแพร่ ต่อสาธารณชน คือการนางานสร้ างสรรค์ ออกเผยแพร่ ทาให้
ปรากฏต่ อสาธารณชนโดยวิธีต่างๆ เช่ นการแสดง การบรรยาย การทาให้
ปรากฏด้ วยเสียง ด้ วยภาพ การก่ อสร้ าง การจาหน่ าย เป็ นต้ น
สิทธิของเจ้ าของลิขสิทธิ์
(3) ให้ เช่ าต้ นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ
ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง
(4) ให้ ประโยชน์ อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ ผ้ ูอ่ นื
(5) อนุญาตให้ ผ้ ูอ่ นื ใช้ สิทธิ โดยจะกาหนดเป็ นเงื่อนไขหรื อไม่ ก็ได้ แต่
เงื่อนไขที่กาหนดจะเป็ นการจากัดการแข่ งขันโดยไม่ เป็ นธรรมไม่ ได้
สิทธิในทางศีลธรรม (moral rights) ธรรมสิทธิ์
ผู้สร้ างสรรค์ มีสิทธิท่ จี ะแสดงตนว่ าเป็ นผู้สร้ างสรรค์ และห้ ามมิให้ มี
การบิดเบือน ตัดทอน ดัดแปลง หรือกระทาการให้ เกิดความ
เสียหาย ต่ อชื่อเสียงของผู้สร้ างสรรค์
การอนุญาตให้ ผ้ ูอ่ นื ใช้ สิทธิ์และการโอนลิขสิทธิ์
• การอนุญาตให้ ผ้ ูอ่ นื ใช้ ลิขสิทธิ์ ไม่ ว่าจะเป็ นการทาซา้ ดัดแปลง
เผยแพร่ ต่อสาธารณชนหรือให้ เช่ าต้ นฉบับหรือสาเนางาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่ง
บันทึกเสียง เป็ นสิทธิแต่ เพียงผู้เดียวของผู้สร้ างสรรค์
• อาจอนุญาตบุคคลมากกว่ าหนึ่งคนให้ ใช้ สิทธิได้ ในเวลาเดียวกัน
เว้ นแต่ จะมีการกาหนดเป็ นหนังสือระบุเป็ นข้ อห้ ามไว้
• การโอนสิทธิ เจ้ าของลิขสิทธิ์อาจโอนลิขสิทธิ์ทงั ้ หมดหรือบางส่ วน
โดยอาจมีกาหนดระยะเวลาหรือไม่ ก็ได้ ทัง้ นี ้ หากการโอนมิใช่ เป็ น
ทางมรดก เจ้ าของลิขสิทธิ์ต้องทาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอน
และผู้รับโอน และหากในสัญญาโอนไม่ ได้ กาหนดระยะเวลาโอนไว้
ก็จะถือว่ าการโอนนัน้ มีกาหนดระยะเวลา 10 ปี
อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์
• กฎหมายให้ การคุ้มครองลิขสิทธิ์ในงานทั่วไปตลอดอายุของผู้
สร้ างสรรค์ และต่ อไปอีก 50 ปี หลังจากผู้สร้ างสรรค์ เสียชีวิต
• งานภาพถ่ าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง หรืองานแพร่
เสียงแพร่ ภาพ จะมีอายุการคุ้มครอง 50 ปี นับตัง้ แต่ วันที่สร้ างสรรค์
• หากมีการนางานออกโฆษณา โดยความยินยอมของเจ้ าของลิขสิทธิ์
ลิขสิทธิ์จะมีอายุ 50 ปี นับตัง้ แต่ การโฆษณาครัง้ แรก ซึ่งนับในกรณี
ที่ผ้ ูสร้ างสรรค์ เป็ นนิตบิ ุคคล ผู้สร้ างสรรค์ ใช้ นามแฝง หรือกรณีของ
งานภาพถ่ ายโสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่ เสียง
แพร่ ภาพ งานศิลปะประยุกต์ หรืองานสร้ างสรรค์ โดยการจ้ างหรื อ
ตามคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่ วยงานอื่นใดของรัฐ
หรือท้ องถิ่น หรือกรณีท่ ผี ้ ูสร้ างสรรค์ ถงึ แก่ ความตายก่ อนที่จะได้ มี
การโฆษณานัน้
การละเมิดลิขสิทธิ์
ความหมาย: การที่บุคคลใดกระทาการใดแก่ งานลิขสิทธิ์ซ่ งึ กฎหมายกาหนดว่ า
เป็ นสิทธิแต่ เพียงผู้เดียวของเจ้ าของลิขสิทธิ์ท่ จี ะกระทาได้ โดยไม่ ได้ รับ
อนุญาตจากเจ้ าของลิขสิทธิ์ก่อน แบ่ งออกได้ เป็ น
(1) การละเมิดลิขสิทธิ์โดยทางตรง
(1) การทาซา้ ดัดแปลง
(2) การเผยแพร่ ต่อสาธารณชนซึ่งในกรณีของโสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง
และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึง
(3) การให้ เช่ าต้ นฉบับหรือสาเนางานดังกล่ าวโดยไม่ ได้ รับอนุญาตด้ วย
(2) การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้ อม ได้ แก่ การที่ร้ ู หรื อมีเหตุอันควรรู้ อยู่แล้ วว่ างาน
ใดได้ ทาขึน้ โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อ่ ืน แต่ ยังกระทาการเพื่อหากาไรจาก
งานนัน้ การกระทาดังกล่ าว ได้ แก่
(1)
(2)
(3)
(4)
การขาย มีไว้ เพื่อขาย เสนอขาย ให้ เช่ า เสนอให้ เช่ า ให้ เช่ าซือ้ หรือเสนอให้ เช่ าซือ้
การเผยแพร่ ต่อสาธารณชน
แจกจ่ ายในลักษณะที่อาจก่ อให้ เกิดความเสียหายแก่ เจ้ าของลิขสิทธิ์
การนาเข้ ามาในราชอาณาจักรเพื่อการใดๆ นอกจากเพื่อใช้ เป็ นการส่ วนตัว
ข้ อยกเว้ นการละเมิดลิขสิทธิ์
หลักการ
• ต้ องไม่ ขัดต่ อการแสวงหาประโยชน์ จากงาน
อันมีลิขสิทธิ์
• ต้ องไม่ กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้ วย
กฎหมายของเจ้ าของลิขสิทธิ์เกินสมควร
มาตรา 32
การกระทาอย่ างใดอย่ างหนึ่งแก่ งานอันมีลขิ สิทธิ์ตามวรรคหนึ่งมิให้ ถือว่ า
เป็ นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้ าได้ กระทาดังต่ อไปนี ้
(1) วิจัยหรือศึกษางานนัน้ อันมิใช่ การกระทาเพื่อหากาไร (Download vs. Upload)
(2) ใช้ เพื่อประโยชน์ ของตนเอง หรือเพื่อประโยชน์ ของตนเองและบุคคลอื่นในครอบครั ว
หรือญาติสนิท
(3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถงึ ความเป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์ในงานนัน้
(4) เสนอรายงานข่ าวทางสื่อมวลชน โดยมีการรั บรู้ ถงึ ความเป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์ในงานนัน้
(5) ทาซา้ ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ ปรากฏ เพื่อประโยชน์ ในการพิจารณาของศาล
หรือเจ้ าพนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่ าว
(6) ทาซา้ ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ ปรากฏโดยผู้สอน เพื่อประโยชน์ การสอนของตน
อันมิใช่ การกระทาเพื่อหากาไร
(7) ทาซา้ ดัดแปลงบางส่ วนของงาน หรือตัดทอนหรื อทาบทสรุ ปโดยผู้สอนหรื อ
สถาบันการศึกษา เพื่อแจกจ่ ายหรือจาหน่ ายแก่ ผ้ ูเรี ยนในชัน้ เรี ยนหรื อในสถาบันการศึกษา
ทัง้ นีต้ ้ องไม่ เป็ นการกระทาเพื่อหากาไร
(8) นางานนัน้ มาใช้ เป็ นส่ วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
ข้ อยกเว้ นการละเมิดลิขสิทธิ์
นอกจากนี ้ กฎหมายยังมิให้ ถือว่ าการกระทาต่ องานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลต่ างๆ ดังต่ อไปนีเ้ ป็ นการละเมิดลิขสิทธิ์
(1) การทาซา้ โดยบรรณารักษ์ ห้องสมุด
(2) การนาเอางานนาฏกรรม หรื อดนตรี กรรมออกเผยแพร่ ต่อสาธารณชน โดยมิได้ หากาไร ไม่ เก็บค่ าชม ไม่ ว่า
ทางตรงหรือทางอ้ อม ไม่ ได้ ให้ ค่าตอบแทนแก่ นักแสดง และมีวัตถุประสงค์ เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา หรื อ
การสังคมสงเคราะห์
(3) การวาดเขียน การเขียนระบายสี การก่ อสร้ าง การแกะสลัก การพิมพ์ ภาพ การถ่ ายภาพ การถ่ ายภาพยนตร์
การแพร่ ภาพศิลปกรรมที่ตงั ้ เปิ ดเผยประจาอยู่ในที่สาธารณะนอกจากงานสถาปั ตยกรรม
(4) การวาดเขียน การเขียนระบายสี การแกะลายเส้ น การปั ้น การแกะสลัก การพิมพ์ ภาพ การถ่ ายภาพ การ
ถ่ ายภาพยนตร์ หรื อการแพร่ ภาพงานสถาปั ตยกรรม
(5) การถ่ ายภาพ การถ่ ายภาพยนตร์ หรื อการแพร่ ภาพงานใดๆ ซึ่งศิลปกรรมใดรวมเป็ นส่ วนประกอบอยู่ด้วย
(6) การทาซา้ บางส่ วนของงานศิลปกรรมโดยผู้สร้ างสรรค์ ร่วม(ในกรณีมีผ้ ูสร้ างสรรค์ หลายคน) หรื อการใช้ แบบ
พิมพ์ ภาพร่ าง แผนผัง แบบจาลอง หรื อข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษาที่ใช้ ในการทาศิลปกรรมเดิมโดยมิได้ ทาซา้ หรือ
ลอกแบบในส่ วนอันเป็ นสาระสาคัญ
(7) การบูรณะสถาปั ตยกรรมในรูปแบบเดิม
(8) การนาภาพยนตร์ ท่ อี ายุการคุ้มครองสิน้ สุดลงแล้ วออกเผยแพร่ ต่อสาธารณชน มิให้ ถือว่ าเป็ นการละเมิด
ลิขสิทธิ์ในวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรี กรรม โสตทัศนวัสดุ สิ่งบันทึกเสียง หรื องานที่ใช้ จัดทา
ภาพยนตร์ นัน้
(9) การทาซา้ งานลิขสิทธิ์ท่ อี ยู่ในความครอบครองของทางราชการเพื่อประโยชน์ ในการปฏิบัตริ าชการโดยเจ้ า
พนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมายหรือตามคาสั่งของเจ้ าพนักงาน ทัง้ นีก้ ารกระทาทัง้ 9 ประการต้ องตัง้ อยู่บน
หลักการสาคัญ 2 ประการของข้ อยกเว้ นการละเมิดลิขสิทธิ์ดังได้ กล่ าวมาแล้ ว
การใช้ ลิขสิทธิ์ในพฤติการณ์ พเิ ศษ
ถึงแม้ ว่ากฎหมายลิขสิทธิ์จะกาหนดให้ สทิ ธิการแปลหรื อการดัดแปลงวรรณกรรมจาก
ภาษาหนึ่งเป็ นอีกภาษาหนึ่งเป็ นสิทธิแต่ เพียงผู้เดียวของผู้สร้ างสรรค์ แต่ กฎหมายก็ได้
กาหนดบทบัญญัตเิ กี่ยวกับการบังคับใช้ สิทธิ(compulsory license) เพื่อให้ บุคคลอื่นได้ ใช้
“ลิขสิทธิ์ในพฤติการณ์ พเิ ศษ” ได้ หากการขออนุญาตแปลงานนัน้ เข้ าตามหลักเกณฑ์ ท่ ี
กฎหมายกาหนด
-การให้ สิทธิแก่ ผ้ ูมีสัญชาติไทยที่ประสงค์ จะขอแปลงานต่ างชาติเป็ นภาษาไทยเพื่อ
ประโยชน์ ในการเรียนการสอนหรือค้ นคว้ าโดยมิได้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อหากาไร ทัง้ นีผ้ ้ ูนัน้
จะต้ องได้ เคยขออนุญาตแปลหรือทาซา้ สาเนางานแปลเป็ นภาษาไทยจากเจ้ าของ
ลิขสิทธิ์แล้ ว แต่ ไม่ ได้ รับอนุญาต นอกจากนีต้ ้ องไม่ เคยมีการแปลงานนัน้ เป็ นภาษาไทย
หรือไม่ มีสาเนางานแปลของงานนัน้ ในท้ องตลาดในระยะเวลา 3 ปี หลังจากโฆษณางาน
ครัง้ แรก หรือหลังจากจัดพิมพ์ งานดังกล่ าวครัง้ สุดท้ าย แล้ วแต่ กรณี โดยอธิบดีกรม
ทรัพย์ สินทางปั ญญา จะเป็ นผู้กาหนดค่ าตอบแทนที่เป็ นธรรมให้ แก่ เจ้ าของสิทธิ
อย่ างไรก็ดีสาเนาคาแปลภาษาไทยจะถูกส่ งออกไปนอกราชอาณาจักรไม่ ได้ เว้ นแต่ผ้ ูรับ
จะมีสัญชาติไทย และงานแปลที่ส่งออกไปนัน้ จะต้ องใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ ในการเรียน
การสอนหรือค้ นคว้ า ไม่ ใช่ เพื่อการค้ า และประเทศผู้ได้ รับอนุญาตให้ ไทยส่ งงานแปล
ดังกล่ าวไปประเทศนัน้
เกณฑ์ การพิจารณาในการใช้ งานลิขสิทธิ์
หลักการ
• ต้ องไม่ ขัดต่ อการแสวงหาประโยชน์ จากงานอันมีลขิ สิทธิ์
• ต้ องไม่ กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้ วยกฎหมายของเจ้ าของลิขสิทธิ์
เกินสมควร
เกณฑ์ การพิจารณา (วัตถุประสงค์ และลักษณะของการใช้ งานลิขสิทธิ์)
(1) การใช้ งานลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นจะต้ องไม่ มีลักษณะเป็ นการกระทาเพื่อการค้ าหรือหา
กาไร เช่ นการนาเพลงของบุคคลอื่นไปทาเทปเพลงเพื่อขายแก่ บุคคลทั่วไป หรืออาจารย์
ผู้สอนถ่ ายสาเนาตาราเรียนบางตอนเพื่อขายนักศึกษาในชัน้ เรียนในราคาเกินกว่ าต้ นทุน
เช่ นนีไ้ ม่ ถือว่ าเป็ นการใช้ งานลิขสิทธิ์ท่ เี ป็ นธรรม
(2) การใช้ งานลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นจะต้ องไม่ มีเจตนาทุจริต เช่ นการนางานลิขสิทธิ์มาใช้
โดยไม่ อ้างอิงถึงที่มา หรือใช้ ในลักษณะที่ทาให้ คนเข้ าใจว่ าเป็ นงานของผู้ใช้ งานลิขสิทธิ์
นัน้ เอง
(3) เป็ นการใช้ งานลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นเพื่อก่ อให้ เกิดประโยชน์ แก่ สังคม โดยนางาน
ลิขสิทธิ์มาปรั บเปลี่ยน (transform) ให้ ต่างไปจากลิขสิทธิ์เดิมหรื อมีการเพิ่มเติมสิ่งใหม่ เข้ า
ไป ซึ่งถ้ าหากการปรับเปลี่ยนดังกล่ าวก่ อให้ เกิดประโยชน์ แก่ สังคมก็เป็ นการใช้ ลิขสิทธิ์ท่ ี
เป็ นธรรม เช่ นการคัดลอกอ้ างอิง(quote) ในงานวิจัยเพื่ออธิบายความคิดเห็นของผู้เขียน
หรือการรายงานข่ าวที่ย่อคากล่ าว (speech) หรือย่ อบทความโดยการคัดลอกอ้ างอิงมาเพียง
สัน้ ๆ
เกณฑ์ การพิจารณาในการใช้ งานลิขสิทธิ์
ลักษณะของงานอันมีลิขสิทธิ์
(1) พิจารณาระดับของการสร้ างสรรค์ งาน เช่ นถ้ าเป็ นงานที่มีระดับของ
การสร้ างสรรค์ งานหรื อใช้ จนิ ตนาการมาก เช่ น นวนิยาย หรื อเรื่ อง
เล่ าอัตชีวประวัตบิ ุคคล หากผู้อ่ ืนนาไปใช้ โอกาสที่จะถือว่ าเป็ นการใช้
ลิขสิทธิ์ท่ ไี ม่ เป็ นธรรมจะมากกว่ างานลิขสิทธิ์ท่ ปี ระกอบด้ วย
ข้ อเท็จจริงจานวนมาก เช่ นรายงานการเกิดสงครามโลกครั ง้ ที่ 2 เป็ น
ต้ น
(2) พิจารณาว่ าเป็ นงานที่มีโฆษณาแล้ วหรื อไม่ หากงานที่นามาใช้ งาน
เป็ นงานที่ยังไม่ มีการโฆษณาจะอ้ างว่ าเป็ นการใช้ ท่ ีเป็ นธรรมไม่ ได้
เนื่องจากงานดังกล่ าวผู้ท่ เี ป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์เท่ านัน้ ที่มีสิทธิท่ จี ะเลือก
ว่ าจะโฆษณางานของตนเมื่อใดก็ได้ แต่ หากการใช้ งานลิขสิทธิ์เป็ น
การใช้ ท่ ีมีการโฆษณาแล้ ว อาจเป็ นการใช้ ท่ ีเป็ นธรรมได้
เกณฑ์ การพิจารณาในการใช้ งานลิขสิทธิ์
ปริมาณและเนือ้ หาที่เป็ นสาระสาคัญ
• หากนางานลิขสิทธิ์ของคนอื่นมาใช้ ในปริมาณมาก ก็ถือว่ าเป็ นการใช้ ท่ ีไม่
เป็ นธรรม
• หรื อในกรณีท่ นี างานลิขสิทธิ์ของคนอื่นมาใช้ แม้ ปริมาณน้ อยก็อาจเป็ น
การละเมิดได้ หากส่ วนนัน้ เป็ นส่ วนที่เป็ นสาระสาคัญหรื อหัวใจของงานชิน้
นัน้
• ผลกระทบต่ อตลาดหรือมูลค่ าของงานอันมีลิขสิทธิ์
• การใช้ งานลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นจะต้ องไม่ มีผลให้ งานลิขสิทธิ์ของบุคคล
อื่นดังกล่ าวขายไม่ ได้ แต่ ถ้าไม่ มีผลกระทบหรื อกระทบเพียงเล็กน้ อย ก็
อาจถือว่ าเป็ นการใช้ งานลิขสิทธิ์ท่ เี ป็ นธรรมได้
• ในกรณีท่ ีเป็ นงานวรรณกรรมที่ไม่ ได้ พมิ พ์ จาหน่ ายมาเป็ นเวลานานแล้ ว
การใช้ งานดังกล่ าวก็จะไม่ กระทบตลาดของเจ้ าของลิขสิทธิ์ เพราะไม่ ทา
ให้ เจ้ าของลิขสิทธิ์ดังกล่ าวขายงานของตนเองไม่ ได้ เนื่องจากหนังสือไม่ มี
ขายในท้ องตลาดแล้ ว
การใช้ งานลิขสิทธิ์ท่ เี ป็ นธรรมในการเรี ยนการสอน
ลักษณะการใช้ งานลิขสิทธิ์ในการเรียนการสอน
• ในการวิจัยหรื อศึกษางานอาจมีการทาซา้ งานวรรณกรรม เช่ น บทความ
ข้ อความจากหนังสือ หรื องานศิลปกรรม(เช่ นรู ปภาพ) จากงานอันมี
ลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ ในการเรี ยนการสอน ซึ่งกฎหมาย
ลิขสิทธิ์กาหนดให้ การกระทาลักษณะต่ างๆ ดังกล่ าว เป็ นสิทธิแต่ เพียงผู้
เดียวของเจ้ าของลิขสิทธิ์ และเพื่อส่ งเสริมความก้ าวหน้ าทางการศึกษา
กฎหมายจึงกาหนดข้ อยกเว้ นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโยชน์ ในการ
เรี ยนการสอนได้ ตามสมควร เช่ น การทาซา้ ดัดแปลงบางส่ วนของงาน
หรื อตัดทอน หรื อทาบทสรุ ปโดยผู้สอนหรื อสถาบันการศึกษา เพื่อ
ประโยชน์ ในการเรี ยนการสอน หรื อนางานนัน้ มาใช้ เป็ นส่ วนหนึ่งในการ
ถามและตอบในการสอบ
เกณฑ์ การพิจารณา
คานึงถึงวัตถุประสงค์ ในการใช้ งานลิขสิทธิ์ทงั ้ หมด 4
ประการประกอบกัน
• วัตถุประสงค์ และความเหมาะสมในการใช้ งานลิขสิทธิ์
• ลักษณะของงานลิขสิทธิ์
• ปริมาณการใช้ งานและสัดส่ วนของงาน
• ผลกระทบต่ อการตลาดหรือมูลค่ าของลิขสิทธิ์
ปริมาณการใช้ งานลิขสิทธิ์
ภาพยนตร์ และโสตทัศนวัสดุ
• การนาออกฉาย ผู้สอนนาออกให้ ให้ ผ้ ูเรียนในชัน้ เรียนชมได้ ไม่
จากัดความยาวและจานวนครัง้ ภายใต้ เงื่อนไขดังนี ้
• สาเนางานที่นาออกฉายต้ องเป็ นสาเนาที่มีลขิ สิทธิ์ถูกต้ อง
• เป็ นการนาออกฉายในชัน้ เรี ยนโดยไม่ แสวงหากาไร
• เป็ นการนาออกฉายเพื่อประโยชน์ ในการเรี ยนการสอนโดยตรง
• การทาสาเนา
• ผู้สอนทาสาเนาทัง้ เรื่ องที่จาเป็ นต้ องใช้ เพื่อประโยชน์ ในการสอน ณ
ขณะนัน้ ได้ หากได้ พยายามใช้ วธิ ีการและมีระยะเวลาอันสมควรแล้ ว
แต่ ไม่ สามารถจัดซือ้ จัดหาสาเนาภาพยนตร์ หรื อโสตทัศนวัสดุท่ ีมี
ลิขสิทธิ์ถูกต้ องตามกฎหมายได้
• ผู้เรี ยนทาสาเนาภาพยนตร์ หรื อโสตทัศนวัสดุเพื่อใช้ ในการศึกษาได้ ไม่
เกินร้ อยละ 10 หรื อ 3 นาที ของงานแต่ ละผลงาน (แล้ วแต่ ว่าจานวนใด
น้ อยกว่ ากัน) ทัง้ นีภ้ าพยนตร์ หรื อโสตทัศนวัสดุท่ ีใช้ ในการจัดทาสาเนา
นัน้ ต้ องมีลขิ สิทธิ์ถูกต้ องตามกฎหมาย
ปริมาณการใช้ งานลิขสิทธิ์
งานแพร่ เสียงแพร่ ภาพ (เช่ นรายการวิทยุ โทรทัศน์ )
• ผู้สอนทาสาเนาและฉายงานแพร่ เสียงแพร่ ภาพหรือเทปบันทึกภาพงาน
เพื่อการเรี ยนการสอนได้ โดยสถาบันการศึกษาใช้ เทปบันทึกภาพงาน
ดังกล่ าวได้ ระยะเวลาหนึ่งปี การศึกษาหรื อสามภาคเรี ยน
ดนตรีกรรม
• การทาสาเนา
• ผู้สอนทาสาเนาในกรณีเร่ งด่ วนเนื่องจากไม่ สามารถซือ้ สาเนางานที่มีลิขสิทธิ์มา
ใช้ ได้ ทนั การแสดงที่จะมีขนึ ้ ทัง้ นีจ้ ะต้ องจัดซือ้ สาเนางานที่มีลิขสิทธิ์มาใช้ ทนั ทีท่ ี
ทาได้
• ผู้สอนทาสาเนาหนึ่งชุดหรือหลายชุดจากท่ อนใดท่ อนหนึ่งของงานเพื่อการศึกษา
ไม่ ใช่ เพื่อนาออกแสดง ทัง้ นีต้ ้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของแต่ ละงาน และไม่ เกิน 1
สาเนาต่ อผู้เรียน 1 คน
• ผู้สอนทาสาเนาสิ่งบันทึกเสียงของงานเพลง จานวน 1 ชุด โดยสาเนาจากสิ่ง
บันทึกเสียงที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้ องตามกฎหมาย ซึ่งผู้สอนหรือสถาบันการศึกษานัน้
เป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์งานสิ่งบันทึกเสียงดังกล่ าว เพื่อจัดทาเป็ นแบบฝึ กหัด
สาหรับการร้ อง การฟั ง หรือเพื่อใช้ ในการเรียนการสอน
ปริมาณการใช้ งานลิขสิทธิ์
ดนตรีกรรม
• การดัดแปลง ดัดแปลงสาเนางานเพื่อประโยชน์ ในการเรี ยนการสอนได้ แต่
จะดัดแปลงคุณลักษณะสาคัญของงาน รวมถึงเนือ้ ร้ องไม่ ได้
รูปภาพและภาพถ่ าย
• ใช้ ได้ อย่ างน้ อย 1 ภาพแต่ ไม่ เกิน 5 ภาพต่ อผู้สร้ างสรรค์ 1 ราย หรื อร้ อยละ
10 ของจานวนภาพของผู้สร้ างสรรค์ 1 ราย (แล้ วแต่ ว่าจานวนใดน้ อยกว่ า
กัน)
• ผู้สอนและผู้เรี ยนดาวน์ โหลดภาพจากอินเทอร์ เน็ต เพื่อใช้ ในการศึกษาได้
ในปริมาณเท่ ากับข้ างต้ น แต่ จะ upload งานนัน้ กลับขึน้ บนอินเทอร์ เน็ต
ไม่ ได้ หากไม่ ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าของลิขสิทธิ์
ปริมาณการใช้ ลิขสิทธิ์
วรรณกรรม สิ่งพิมพ์
• การทาสาเนา 1 ชุดสาหรับผู้สอนเพื่อใช้ ในการสอน หรื อ
เตรียมการสอน หรือเพื่อใช้ ในการวิจัย
• 1 บท (chapter) จากหนังสือ 1 เล่ ม
• บทความ (article) 1 บท จากนิตยสาร/วารสาร หรื อหนังสือพิมพ์
• เรื่ องสัน้ (short story) หรื อเรี ยงความขนาดสัน้ (short essay) 1
เรื่ อง บทกวีขนาดสัน้ (short poem) 1 บท ไม่ ว่าจะนามาจากงาน
รวบรวมหรื อไม่ กต็ าม
• แผนภูมิ (chart) กราฟ แผนผัง (diagram) ภาพวาด (painting) ภาพ
ลายเส้ น (drawing) การ์ ตูน รู ปภาพ (picture) หรื อภาพประกอบ
หนังสือ (illustration) จากหนังสือ นิตยสาร/วารสาร หรื อ
หนังสือพิมพ์ จานวน 1 ภาพ
ปริมาณการใช้ ลิขสิทธิ์
การทาสาเนาจานวนมากเพื่อใช้ ในห้ องเรี ยน
• ทาได้ ไม่ เกิน 1 ชุดต่ อนักเรียน 1 คน โดยผู้สอน เพื่อใช้ ในการเรี ยนการสอนหรือการ
อภิปรายในห้ องเรียน โดยสาเนาที่ทาขึน้ จะต้ องไม่ ยาวจนเกินไป และต้ องมีการระบุรับรู้
ความเป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์ไว้ ในสาเนาทุกฉบับด้ วยดังนี ้
• ร้ อยกรอง
• บทกวี ที่ไม่ เกิน 250 คาและเมื่อพิมพ์ แล้ วไม่ เกิน 2 หน้ า (หน้ าละ 2000 ตัวอักษร ขนาด 16)
หรื อ
• บทกวีขนาดยาว ตัดตอนมาได้ ไม่ เกิน 250 คา
• ร้ อยแก้ ว
• บทความ 1 บท เรื่ อง 1 เรื่ อง หรื อเรี ยงความ 1 เรื่ อง หรื อไม่ เกิน 2500 คา
• ตอนใดตอนหนึ่งของร้ อยแก้ วซึ่งไม่ เกิน 1000 คา หรื อร้ อยละ 10 ของงานนัน้ (แล้ วแต่ ว่าจานวน
ใดน้ อยกว่ ากัน) แต่ ได้ อย่ างน้ อย 500 คา (ยืดหยุ่นได้ ตามความเหมาะสม เช่ นจบบทกวี)
• แผนภูมิ กราฟ แผนผัง ภพวาด ภาพลายเส้ น การ์ ตูน รู ปภาพ หรื อภาพประกอบหนังสือจาก
หนังสือนิตยสาร/วารสาร หรื อหนังสือพิมพ์ จานวน 1 ภาพ
• งานที่มีลักษณะเฉพาะงานที่อยู่ในรู ปร้ อยกรองหรือร้ อยแก้ ว หรื อผสมผสานกันซึ่งมักจะมี
ภาพประกอบ อาทิ หนังสือเด็ก ทาทัง้ ฉบับไม่ ได้ แต่ ใช้ ได้ ไม่ เกิน 2500 คา และทาสาเนาตอน
หนึ่งตอนใดของงานได้ ไม่ เกิน 2 หน้ าพิมพ์ ของงานนัน้ หรื อไม่ เกินร้ อยละ 10 ของคาที่ปรากฏ
ในงานนัน้
• งานของผู้สร้ างสรรค์ คนเดียวกัน ทาสาเนาบทกวี บทความ เรื่ อง หรื อเรี ยงความ ได้ ไม่ เกิน 1
เรื่ อง หรื อสามารถตัดตอนมาจากผลงานของผู้สร้ างสรรค์ คนเดียวกันได้ ไม่ เกิน 2 ตอน หรื อทา
สาเนาผลงานได้ ไม่ เกิน 3 เรื่ องจากงานรวบรวมเล่ มเดียวกัน หรื อจากนิตยสาร/วารสารรวม
เล่ ม ในเวลา 1ภาคการศึกษา
การรับรู้ความเป็ นเจ้ าของสิทธิ์
• ตัวอย่ าง
• ภาพยนตร์ และโสตทัศนวัสดุ
• ชื่อผู้สร้ างสรรค์ ..............................................................................
• ภาพจากภาพยนตร์ หรือโสตทัศนวัสดุเรื่อง...................................
• ปี ที่ผลิต..............................................................
• ดนตรี กรรม
• ผู้แต่ งคาร้ อง/ทานอง/ผู้เรียบเรี ยงเสียงประสาน............................
• ชื่อเพลง........................................................................................
• วรรณกรรม
• ชื่อผู้แต่ ง ชื่อบรรณาธิการ(ถ้ ามี) (ปี ที่พมิ พ์ ) ชื่อหนังสือ ครั ง้ ที่พมิ พ์ สถานที่
พิมพ์ : สานักพิมพ์ /โรงพิมพ์ /เจ้ าของลิขสิทธิ์
เอกสารอ้ างอิง
• ความรู้ ลิขสิทธิ์: ลิขสิทธิ์คืออะไร กรมทรัพย์ สินทางปั ญญา
กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2547
• คู่มือการใช้ งานลิขสิทธิ์ท่ เี ป็ นธรรม
กรมทรัพย์ สินทางปั ญญา กระทรวงพาณิชย์
วงจรทรัพย์ สินทางปั ญญา
Creation
Protection
Enforcement
Utilization
การบริหารจัดการทรัพย์ สินทางปัญญา
(IP Management)
• องค์ประกอบของการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญา
– นโยบายและวิสยั ทัศน์ด้านทรัพย์สินทางปั ญญา
• กาหนดทิศทาง แนวทางในการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญาขององค์กร
• ผู้บริ หารระดับสูงขององค์กรควรให้ ความสาคัญและมีการสื่อสารให้ บคุ คลากรภายในองค์กรทราบ
• ควรสอดคล้ องกับนโยบายหลักขององค์กร เช่น นโยบายด้ านการวิจยั และพัฒนา นโยบายพัฒนา
บุคลากร เป็ นต้ น
– กฎระเบียบทรัพย์สินทางปั ญญา
• กาหนดกรอบและแนวปฏิบตั ิให้ แก่บคุ ลากร
– บุคลากรด้ านการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญา
• ผู้สร้ างสรรค์ (นักวิจยั วิศวกร) ผู้อานวยการวิจยั ผู้บริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญา
นัก
ทรัพย์สินทางปั ญญา (ตัวแทนสิทธิบตั ร นักกฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญา นักพัฒนาธุรกิจ)
– คณะกรรมการทรัพย์สินทางปั ญญา
• คัดเลือกผลงานเพื่อขอรับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญา (ทังในและต่
้
างประเทศ)
• ให้ ข้อคิดเห็น ข้ อเสนอแนะ และยุติข้อพิพาท
การบริหารจัดการทรั พย์ สินทางปั ญญา
ในช่ วงการสร้ างสรรค์ (Creation)
• การทาแผนที่สิทธิบตั ร (Patent Mapping)
– กาหนดทิศทางและขอบเขตการวิจยั ป้องกันการละเมิดสิทธิบตั ร
• การตรวจสอบทรัพย์สินทางปั ญญาเพื่อการสร้ างสรรค์ (IP Clearance towards freedom
to operate)
– ตรวจสอบว่าโครงการวิจยั ที่จะดาเนินการนัน้ ผลงานวิจยั ที่ได้ มาจะนาไปใช้ ประโยชน์ ได้ หรื อไม่ โดย
การตรวจสอบสิทธิบตั รที่เกี่ยวข้ อง
• สัญญาเพื่อการสร้ างสรรค์ทรัพย์สินทางปั ญญา
– สัญญาสนับสนุนการวิจยั (in-house research agreement)
– สัญญารับจ้ างวิจยั (contract research agreement)
– สัญญาร่วมวิจยั (collaborative research agreement)
• มาตรการในการเก็บรักษาความลับ (confidential or non-disclosure measure
• การบันทึกผลงานวิจยั (Laboratory notebook) :Good laboratory practice
การบริหารจัดการทรัพย์ สินทางปัญญา
เพือ่ การคุ้มครอง (Protection)
• แสวงหาการคุ้มครองที่เหมาะสมเพื่อให้ ได้ มาถึงสิทธิใน
ทรัพย์ สินทางปั ญญา
– การเปิ ดเผยการวิจัยต่ อหน่ วยงาน (Disclosure of invention)
– การตรวจสอบทรัพย์ สินทางปั ญญา (IP audit)
– การจดทะเบียนทรัพย์ สินทางปั ญญา
• การโอนสิทธิ
• การมอบอานาจ