ÀÒÉÒ PHP

Download Report

Transcript ÀÒÉÒ PHP

PHP
(Professional Home Page)
ผูส้ อน อาจารย์ศิริพร บุญเปลี่ยนพล
ครู วิชาการสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรี ยนมหิ ดลวิทยานุสรณ์
http://www.mwit.ac.th/~jeed
Web server
เว็บเซร์ฟเวอร์ (Web server) คือเครื่ องบริ การเว็บไซต์ หรื อเว็บเพจผ่าน
http://.... เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทั้งภาพ เสี ยงจากผูใ้ ห้บริ การ เช่น PWS, IIS, OMNI
และ Apache เป็ นต้น
Note
ในการสร้างเว็บจะใช้สคริ ปต์ (script) อยู่ 2 แบบด้วยกัน คือ
 Server-Silde Script เป็ นลักษณะของภาษาที่ทางานบนเครื่ อง
เซิร์ฟเวอร์ เช่น PHP, CGI, ASP
 Client-Silde Script เป็ นลักษณะของภาษาที่ทางานบนเครื่ องผูใ้ ช้
เช่น JavaScript, VBScript
หลักการทางานของ PHP
รู ปแบบการเขียนสคริปต์ PHP
รู ปแบบการเขียนโค้ด PHP สามารถเขียนได้ 4 แบบ และทั้ง 4 แบบสามารถแทรก
ลงในส่ วนใดของแท็ก HTML ก็ได้
1.
การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะทัว่ ไปแบบภาษา SGML จะมีรูปแบคือ
<?
คาสั่ งในภาษา PHP ;
?>
2. การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะภาษา XML วิธีน้ ีเป็ นการใช้รูปแบบที่ป้องกันข้อผิดพลาด
การเขียนในลักษณะนี้จะมีรูปแบบคือ
<?php
คาสั่ งในภาษา PHP;
?>
รู ปแบบการเขียนสคริปต์ PHP
3. การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะ Java Script จะมีรูปแบบคือ
<Script Language="php">
คาสั่ งภาษา PHP ;
</Script>
4. การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะ ASP จะมีรูปแบบคือ
<%
คาสั่ งภาษา PHP;
%>
คาสั่ ง print และ echo
คาสั่ ง print และ echo เป็ นคาสั่ งทีใ่ ช้ ในการแสดง
ข้ อมูลผ่ านโปรแกรมบราวเซอร์
รู ปแบบคาสั่ งprint
print “ข้ อความ”; หรือ print(“
ข้ อความ”);
<?php
$name = "Web Programming";
print "The subject is $name";
?>
รู ปแบบคาสั่ งecho
echo “ข้ อความ”; หรือ echo(“ข้ อความ”);
<?php
echo “PHP Programming";
?>
ชนิดของข้ อมูล






Integer
floating-point numbers
String
Array
Object
Type juggling
Integer
Integer ใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนเต็มทั้งจานวนเต็มบวกและจานวน
เต็มลบ รวมทั้งแสดงค่าเป็ นเลขฐานสิ บ (0 - 9) ฐานแปด (0 - 7) และฐานสิ บหก (0 9, A - F หรื อ a - f) โดยที่ เลขฐานแปดขึ้นต้นด้วย 0 และเลขฐานสิ บหกขึ้นต้นด้วย
0x หรื อ 0X มีค่าได้ท้ งั บวกและลบ
$a = 1234;
$a = -123;
$a = 0123;
$a = 0x12;
# decimal number
# a negative number
# octal number (equivalent to 83 decimal)
# hexadecimal number (equivalent to 18 decimal)
Floating Point Numbers
Floating Point Numbers ใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนจริ ง
บวกและลบ จะมีทศนิยมหรื อไม่มีกไ็ ด้
$a = 1.234;
$a = -1.234;
$a = 1.2e3;
$a = -1.2e3;
# decimal number
# a negative number
# octal number (equivalent to 83 decimal)
# hexadecimal number (equivalent to 18 decimal)
String
String ใช้เก็บข้อมูลที่เป็ นข้อความ รวมทั้งตัวเลข (นาไปคานวณไม่ได้) ใน
PHP เราจะใช้เครื่ องหมายฟันหนู (") คร่ อมไว้หวั ท้ายของชุดตัวอักษร
$a = "Hello";
$a = "999";
ข้อความต่างๆ ในการกาหนดข้อมูลประเภท Strings นั้นจะมีรหัสควบคุมที่
เรี ยกว่า Escaped characters โดยใช้เครื่ องหมาย backslash (\) เป็ นตัว
ควบคุม
\n
ใชส้ ำหรับขึน
้ บรรทัดใหม่ (จะไม่เห็นควำมแตกต่ำงในบรำวเซอร์ แต่จะเห็นเมือ
่ ดูโค ้ด)
\r
Carriage ใชส้ ำหรับให ้ตัว Cursor ไปอยูท
่ ต
ี่ ้นของบรรทัด
้
\t
ใชในกำรเลื
อ
่ น Tab
้
\\
ใชในกำรพิ
มพ์เครือ
่ งหมำย \ (Backslash)
้
\$
ใชในกำรพิ
มพ์เครือ
่ งหมำย $ (Dollar Sign)
้
\"
ใชในกำรพิ
มพ์เครือ
่ งหมำย " (Double-Quote)
\[0-7]{1,3}
ใชส้ ำหรับเลขฐำน 8
\x[0-9A-Fa-f]{1,2}
ใชส้ ำหรับเลขฐำน 16
Array
เป็ นการเก็บข้ อมูลเป็ นชุด เป็ นแถว หรื อกลุ่ม $day[1]="Monday";
$day[2]="Tuesday";
ของข้ อมูล การกาหนดค่ าตัวแปรจะอยู่หลังตัวแปร
$day[3]="Wednesday";
ภายในเครื่ องหมาย [...] PHP ได้ แบ่ ง Array เป็ น
$day[4]="Thursday";
2 แบบคือ
$day[5]="Friday";
• อาร์ เรย์ แบบมิติเดียว (Single Dimension
$day[6]="Saturday";
Arrays)
$day[7]="Sunday";
• อาร์ เรย์ แบบหลายมิติ (Multi-Dimensional
echo "$day[1] <br>";
echo "$day[2] <br>";
Arrays)
echo "$day[3] <br>";
Object
เป็ นการเขียนชุดคาสั่งเพื่อ
เก็บข้อมูลในลักษณะออปเจ็กต์เพื่อ
การเรี ยกใช้เป็ น Class Object
หรื อ Dunction
class foo {
function do_foo () {
echo "Doing foo."; }
}
$bar = new foo;
$bar -> do_foo ();
Type juggling
ข้อมูลชนิดนี้สร้างขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในลักษณะเฉพาะหรื อผูใ้ ช้
เพิ่มเติมเข้ามา
$a++; // $a จะมีค่าเท่ากับ
$b = 15 + "10 Small";// $b มีค่าเท่ากับ 25 ถือว่า ตัวเลข
หน้าข้อความเป็ นชนิด Integer
ตัวแปร
(Variable)
ตัวแปร
ตัวแปร (Variable) คือชื่อที่ใช้แทนสิ่ งที่ใช้เก็บข้อมูล ในการ
เขียนตัวแปรต้องมีการกาหนดค่าให้กบั ตัวแปร โดยเขียนค่าของตัวแปรไว้
ทางด้านขวาของเครื่ องหมาย = ตามรู ปแบบการเขียน
$Sum = 0;
$Sumamout = $Sumquantity;
กฎการตั้งตัวแปร
 ขึ้นต้นด้วยเครื่ องหมาย $
แล้วควรตามด้วยตัวอักษรA,B,C,...,Z,a,b,c,...,z,_
 มีความยาวตั้งแต่ 1 ตัวอักษรไปจนถึง 255 ตัวอักษร
 ห้ามมีจุดทศนิ ยม หรื อช่องว่าง
 ควรตั้งชื่อให้มีความหมายตรงหรื อใกล้เคียงกับค่าที่เก็บในตัวแปรนั้น
 ตัวอักษรที่ใช้ไม่วา่ จะใช้ตวั เล็กหรื อตัวใหญ่จะถือว่าเป็ นตัวแปรเดียวกัน (Case
Sensitive)
 ตัวแปรที่ซ้ ากับที่ต้ งั มาแล้วจะทาให้ค่าที่เก็บเดิมนั้นหายไป
<?php
$Name = “Computer";
$phpName = “Technology";
echo "Hello ",$Name,“And",$phpName;
?>
ตัวแปรระบบ
เป็ นตัวแปรที่ PHP เตรี ยมไว้ให้
สามารถเรี ยกใช้ได้ทนั ที (เมื่อ
นาไปใช้งานต้องใช้ตวั พิมพ์ใหญ่
และใส่ เครื่ องหมาย $ ด้านหน้าด้วย
เนื่องจากเป็ นตัวแปร)
ชื่อ
ความหมาย
DOCUMENT_ROOT
แสดงพาธของ Root Directory ที่อ่านครั้งแรก
GATEWAY_INTERFACE
แสดงค่าอินเทอร์เฟซของ CGI เช่น CGI/1.1
HTTP_ACCEPT_LANGUAGE
ภาษาที่ใช้ในขณะนั้น เช่น th
HTTP_CONNECTION
แสดงสถานภาพการคอนเน็กต์ เช่น Keep-Alive
HTTP_USER_AGENT
แสดงประเภทและเวอร์ชนั่ ของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่เรี ยกเข้ามา
PATH_INFO
แสดงชื่อเอกสาร PHP ที่กาลังทางานอยู่ เช่นเดียวกับ Script_Name
PATH_TRANSLATED
แสดงพาธของสคริ ปต์ที่กาลังทางานอยู่
QUERY_STRING
แสดงในกรณี ที่ใช้ Query_String จะแสดงสตริ งที่ส่งมาต่อท้าย
URL
REMOTE_ADDR
แสดงค่า IP Address ของเครื่ องไคลเอ็นต์ที่คอนเน็กต์เข้ามา
REMOTE_PORT
แสดงพอร์ตของเครื่ องไคลเอ็นต์ที่คอนเน็กต์เข้ามา
REQUEST_METHOD
แสดงการรับ - ส่งค่า เป็ นแบบ GET หรื อ POST
SCRIPT_NAME
แสดงชื่อเอกสาร PHP ที่กาลังทางานอยู่
SERVER_NAME
แสดงค่าชื่อเซิร์ฟเวอร์
SERVER_PORT
แสดงพอร์ตของเซิร์ฟเวอร์
SERVER_PROTOCOL
แสดงโปรโตคอลของเซิร์ฟเวอร์
SERVER_SOFTWARE
แสดงซอฟต์แวร์ของเซิร์ฟเวอร์
ค่ าคงที่
(Constante)
ค่ าคงที่
ค่าคงที่ คือค่าที่กาหนดให้กบั ตัวแปรและไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
ค่านั้นในขณะใช้งาน ค่าคงที่สามารถเก็บข้อมูลได้ชนิดเดียวกับตัวแปร ไม่
ว่าจะเป็ นตัวเลขหรื อสตริ ง รวมทั้งบูลีน ใน PHP มีค่าคงที่อยูด่ ว้ ยกัน 2
ประเภท คือ
1. ค่าคงที่กาหนดโดย PHP (Built - in Constant)
2. ค่าคงที่ที่ผใู ้ ช้กาหนดเอง (User - defined Contant)
ค่ าคงทีก่ าหนดโดย PHP
ค่าคงที่แบบนี้เป็ นค่าคงที่ที่ PHP สร้างขึ้นมาเพื่อให้นาไปใช้งานได้ทนั ที
ค่าคงที่
ความหมาย
__FILE__
แสดงชื่อไฟล์สคริปต์กำลังใช้งำนอยู่ นิยมนำมำใช้งำนร่วมกับ __LINE__ เพือ่ แสดงข้อผิดพลำดของโปรแกรม
ทีพ่ บ
__LINE__
เป็ นค่ำคงทีท่ แ่ี สดงจำนวนบรรทัดของไฟล์สคริปต์ทเ่ี ปิดใช้งำนอยู่ ใช้งำนเช่นเดียวกับ __FILE__ โดยจะใช้
เพือ่ แสดงข้อผิดพลำดของโปรแกรมในบรรทัดทีพ่ บ
PHP_VERSION
เป็ นค่ำคงทีท่ แ่ี สดงเวอร์ชนของ
ั่
PHP ทีน่ ำมำใช้งำน
PHP_OS
เป็ นค่ำคงทีท่ แ่ี สดงระบบปฏิบตั กิ ำรทีใ่ ช้ PHP นี้ เช่น Windows, Linux
TRUE
มีคำ่ เป็ นจริง
FALSE
มีคำ่ เป็ นเท็จ
E_ERROR
แสดงข้อผิดพลำดนอกเหนือจำกกำร parse ทีไ่ ม่สำมำรถตรวจพบได้
E_WARNING
แสดงเงือ่ นไขที่ PHP ทรำบว่ำเกิดอะไรขึน้ แต่ให้ทำงำนต่อไป
E_PARSE
กำร parse ทีท่ ำให้เกิดข้อผิดพลำดในสคริปต์ ทีไ่ ม่สำมำรถตรวจพบได้
E_NOTICE
บำงสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ อำจจะเป็ นข้อผิดพลำดหรือไม่กไ็ ด้ กำรเอ็กซิควิ ต์ยงั คงมีต่อไป เช่น กำรใช้ตวั แปรทีย่ งั ไม่มี
กำรเซ็ตไว้ เป็ นต้น
ค่ าคงทีท่ ผี่ ู้ใช้ กาหนดเอง
รู ปแบบการกาหนดค่าคงที่
DEFINE(ConstName, Value);
โดยที่ ConstName เป็ นชื่อของค่าคงที่ที่ต้งั ขึ้นมาเอง, Value เป็ นค่าที่เก็บไว้ในค่าคงที่
<?php
define("MyString", "Hello PHP ");
define("NewLine", "<br>\n");
define(PI, 3.141592654);
echo (MyString. NewLine);
echo ("Hello" . NewLine);
echo ("PI = " . PI . NewLine);
?>
โอเปอร์ เรเตอร์
(Operator)
โอเปอร์ เรเตอร์
โอเปอร์เรเตอร์ (Operator) หรื อตัวดาเนินการ เป็ นเครื่ องหมายที่ใช้เชื่อมต่อ
ระหว่างนิพจน์ ค่าคงที่ หรื อตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป PHP สามารถใช้ Operator
ร่ วมในการพัฒนาโปรแกรมได้ คุณสมบัติและการใช้งาน Operator จะแตกต่างกันตาม
ชนิดของ Operator โดย PHP ได้จดั แบ่ง Operator ไว้ดงั นี้







โอเปอร์เรเตอร์เชิงคณิ ตศาสตร์ : Arithmetic Operators
โอเปอร์เรเตอร์เชิงข้อความ : String Operators
โอเปอร์ เรเตอร์ กาหนดค่า : Assignment Operators
โอเปอร์เรเตอร์เปรี ยบเทียบบิต : Bitwise Operators
โอเปอร์เรเตอร์เชิงตรรกศาสตร์ : Logical Operators
โอเปอร์เรเตอร์เชิงเปรี ยบเทียบ : Comparison Operators
โอเปอร์ เรเตอร์ เพิ่ม - ลดค่า : Incrementing/Decrementing Operator
โอเปอร์ เรเตอร์ เชิงคณิตศาสตร์
Arithmetic Operators
เครื่องหมาย
โอเปอร์ เรเตอร์
รูปแบบ
ความหมาย
ผลลัพธ์
($a = 15, $b = 3)
+
*
/
บวก
ลบ
คูณ
หาร
$a + $b
$a - $b
$a * $b
$a / $b
หาผลรวมระหว่าง $a กับ $b
หาผลต่างระหว่าง $a กับ $b
หาผลคูณระหว่าง $a กับ $b
หาการหารระหว่าง $a กับ $b
18
12
45
5
%
หารเอาเศษ
$a % $b
หารเพื่อหาเอาเศษ ระหว่าง $a กับ $b
0
โอเปอร์ เรเตอร์ เชิงข้ อความ
String Operators
เป็ นโอเปอร์เรเตอร์ที่จดั การเกี่ยวกับข้อความ String ไม่สามารถนามา
คูณหรื อคานวนกันได้ แต่ PHP ได้แปลงสภาพให้ String คานวณได้ใน
ความหมายของการนาข้อความมาเรี ยงต่อกัน ("." คือการนาข้อความมาต่อกัน)
ตัวอย่าง
$x = “String...";
$y = $x . “Operators";
ผลลัพธ์
$y = “String ... Operators"
โอเปอร์ เรเตอร์ กาหนดค่ า
Assignment Operators
โอเปอร์ เรเตอร์ กาหนดค่านี้มีลกั ษณะคล้ายกับการกาหนดค่าให้กบั ตัวแปร แต่
แตกต่างกันเนื่องจากเป็ นโอเปอร์ เรเตอร์ ค่าของตัวแปรที่อยูท่ างด้านซ้ายของเครื่ องหมาย
เท่ากับจะเป็ นผลลัพธ์จากการกระทาของโอเปอร์ แรนที่อยูด่ า้ นขวา
เครื่ องหมาย
ชื่อโอเปอร์เรเตอร์
รู ปแบบ
ความหมาย
ผลลัพธ์
($a = 15)
=
กาหนดค่า
$a = 1
กาหนดค่าให้ $a มีค่าเท่ากับ 1
$a = 1
+=
เพิ่มค่า
$a += 1
กาหนดค่าให้ $a มีค่าเท่ากับ $a+1
$a = 16
-=
ลบค่า
$a -= 1
กาหนดค่าให้ $a มีค่าเท่ากับ $a-1
$a = 14
*=
คูณค่า
$a *= 1
กาหนดค่าให้ $a มีค่าเท่ากับ $a*1
$a = 15
/=
หารค่า
$a /= 1
กาหนดค่าให้ $a มีค่าเท่ากับ $a/1
$a = 15
โอเปอร์ เรเตอร์ เปรียบเทียบบิต
Bitwise Operators
เป็ นโอเปอร์เรเตอร์สาหรับการเปรี ยบเทียบ และการคานวณตัวเลขใน
ระดับบิต
เครื่ องหมาย
ชื่อโอเปอร์เรเตอร์
รู ปแบบ
ความหมาย
&
And
$a & $b
เป็ นบิตที่เป็ นเซ็ตของ $a และ $b
|
Or
$a | $b
เป็ นบิตที่เป็ นเซ็ตของ $a หรื อ $b
~
Not
~$a
เป็ นบิตที่ไม่เป็ นเซ็ตของ $a
<<
Shift Left
$a <<
$b
ขยับบิต $a ไปทางซ้ายเป็ นจานวน $b ครั้ง
>>
Shift Right
$a >>
$b
ขยับบิต $a ไปทางขวาเป็ นจานวน $b ครั้ง
โอเปอร์ เรเตอร์ เชิงตรรกศาสตร์
Logical Operators
เป็ นโอเปอร์ เรเตอร์ ที่คานวณค่าทางตรรกศาสตร์ ของค่าสองค่าคือ จริ ง (T
หรื อ 1) กับ เท็จ (F หรื อ 0) ซึ่ งผลลัพธ์ที่ได้จะได้เพียง 2 ค่า คือ จริ ง (T หรื อ 1) และ
เท็จ (F หรื อ 0) เท่านั้น
เครื่ องหมาย
ชื่อโอเปอร์เรเตอร์
รู ปแบบ
ความหมาย
and
และ
$a and $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a และ $b มีค่าเป็ น จริ ง
&&
และ
$a && $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a และ $b มีค่าเป็ น จริ ง
or
หรื อ
$a or $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a หรื อ $b ตัวใดตัวหนึ่งมีค่าเป็ น จริ ง
||
หรื อ
$a || $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a หรื อ $b ตัวใดตัวหนึ่งมีค่าเป็ น จริ ง
xor
หรื อ
$a xor $b
เป็ นจริ ง เมื่อค่าของ $a กับ $b มีค่าตรงข้ามกัน
!
ไม่
! $a
ค่าตรงข้ามจากค่าเดิม นัน่ คือจะเป็ นจริ งเมื่อค่า $a เป็ นเท็จ
โอเปอร์ เรเตอร์ เชิงเปรียบเทียบ
Comparison Operators
เป็ นโอเปอร์ เรเตอร์ ที่ใช้ในการเปรี ยบค่าของโอเปอร์ แรน หรื อตัวแปร 2 ตัว
ดังนั้นค่าที่ได้จะเป็ น จริ ง (T) หรื อเท็จ (F)
เครื่ องหมาย
ชื่อโอเปอร์เรเตอร์
รู ปแบบ
ความหมาย
ผลลัพธ์
($a = 5, $b = 7)
==
เท่ากับ
$a ==$b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a มีค่าเท่ากับ $b
F
!=
ไม่เท่ากับ
$a != $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a มีค่าไม่เท่ากับ $b
T
<
น้อยกว่า
$a < $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a มีค่าน้อยกว่า $b
T
>
มากกว่า
$a > $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a มีค่ามากกว่า $b
F
<=
น้อยกว่าหรื อเท่ากับ
$a <= $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a มีค่าน้อยกว่าหรื อเท่ากับ $b
T
>=
มากกว่าหรื อเท่ากับ
$a >= $b
เป็ นจริ ง เมื่อ $a มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ $b
F
โอเปอร์ เรเตอร์ เพิม่ - ลดค่ า
Incrementing/Decrementing Operator
เครื่ องหมาย
ชื่อโอเปอร์เรเตอร์
รู ปแบบ
ความหมาย
++$a
เพิ่มค่าก่อน
++$a
เพิ่มค่าทีละ 1 ก่อนแล้วค่อยให้ค่ากับตัวแปร
$a++
เพิ่มค่าทีหลัง
$a++
ให้ค่ากับตัวแปรก่อนแล้วค่อยเพิ่มค่าทีละ 1
--$a
ลดค่าก่อน
--$a
ลดค่าทีละ 1 ก่อนแล้วค่อยให้ค่ากับตัวแปร
$a--
ลดค่าทีหลัง
$a--
ให้ค่ากับตัวแปรก่อนแล้วค่อยลดค่าทีละ 1
โครงสร้ าง
แบบมีทางเลือก
(Condition Structure)
คาสั่ ง If
เป็ นคาสั่งสาหรับสร้างเงื่อนไขการทางานของโปรแกรมว่า ถ้าเป็ นจริ งก็
จะให้ทางานงานหนึ่ ง ถ้าเป็ นเท็จก็จะให้ทางานอีกงานหนึ่ ง
รู ปแบบคาสั่ง
if ( เหตุการณ์ Operator เหตุการณ์ )
{งานที่จะต้องทา}
<?php
$a=1;
If ( $a==1 )
{ print "<h1>1</h1>"; }
?>
คาสั่ ง If...else
รู ปแบบคาสัง่
if ( เหตุการณ์ Operator เหตุการณ์ )
{งานที่จะต้องทา}
else
{งานที่จะต้องทา}
<?php
$a=10;
if ( $a == 10 )
{
print "YES, this is true";
}
else
{
print "NO, this is false";
}
?>
คาสั่ ง If...elseif...else
รู ปแบบคาสั่ง
if (เหตุการณ์ Operator เหตุการณ์)
{งานที่จะต้องทา}
elseif (เหตุการณ์ Operator เหตุการณ์)
{งานที่จะต้องทา}
elseรู ปแบบคาสัง่
{งานที่จะต้องทา}
คาสั่ ง Switch...Case
การใช้ Switch จะตามด้วย
ตัวแปรที่ตอ้ งการตรวจสอบเงื่อนไข
หลังจากจะทาการตรวจสอบเงื่อนไข
กับคาสัง่ case ถ้าตรงก็จะทาตาม
คาสัง่ นั้นออกมา ทาเรื่ อยไปจนกว่าจะ
ถึงคาสัง่ break แต่ถา้ หาก
เปรี ยบเทียบไม่ตรงกับคาสัง่ ใน case
ก็จะทาในคาสัง่ default ดังนั้นถ้าจะ
มีการทางานต่อไปจะต้องใส่ ไว้
หลังจากคาสัง่ default
Switch ($Fruit)
{
case “สี ฟ้า";
$Result="คุณชอบ...สี ฟ้า";
break;
case “สี เหลือง";
$Result="คุณชอบ... สี เหลือง ";
break;
case “สี แดง";
$Result="คุณชอบ... สี แดง ";
break;
}
โครงสร้ าง
แบบทาซ้า
(Repetition Structure)
For
คาสัง่ For จะทาหน้าที่สงั่ ให้โปรแกรมทางานวนรอบตาม
ต้องการ ซึ่งกาหนดเป็ นเงื่อนไข โดยจะทาเมื่อเงื่อนไขนั้นเป็ นจริ ง และจะมี
ตัวกาหนดว่าจะวนรอบเมื่อใด
for ( สถานการณ์1 ; สถานการณ์ 2 ; สถานการณ์ 3; )
{ งานที่จะต้องทา}
<?php
for ($i = 1; $i <= 5; $i++)
{
print "<h$i>Hi hello</h$i><br>";
}
?>
While
คาสัง่ While จะทางานโดยตรวจสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็ นจริ งจะทา
คาสั่งตามที่กาหนด หากเงื่อนไขเป็ นเท็จก็จะหยุดการทากิจกรรมใน Loop ทาเช่นนี้
เรื่ อยไป
while ( เหตุการณ์ Operator เหตุการณ์ ){ งานที่จะต้องทา}
<?php
$i = 1;
while ($i < 11)
{
print $i++;
}
?>
Do...While
คาสัง่ Do...While จะคล้ายกับ While คือจะทางานวนรอบ
เช่นเดียวกัน แต่คาสัง่ Do...While จะตรวจสอบเงื่อนไขภายหลังจาก
ที่ทางานไปแล้ว
รู ปแบบ
Do
{
งานที่จะต้องทา
}
While ( เหตุการณ์ Operator เหตุการณ์ )
<?php
$I = 1;
Do
{
echo "Hello...";
echo “$I <br>";
$I++;
}
While($I<=5)
?>
Foreach
คาสัง่ Foreach เป็ นการทางานในลักษณะวนรอบที่ทางานกับ
ตัวแปรอาร์เรย์
คาสั่ ง Break
คาสัง่ break เป็ นการกาหนดค่าตัวแปร หรื อ Assignment Operator
จะใช้ร่วมกับ เงื่อนไข for หรื อ while ซึ่งจะหยุดการทางานของวนรอบ
loop เมื่อเข้าสู่สถานะการณ์ที่สร้างโดยเงื่อนไขของ break
รู ปแบบ
Break;
<?php
For ($I=1; $I<11; $I++)
{
If ($I == 6) break;
Echo ("Hello...ครัง้ ที่ $I <br>");
}
?>
คาสั่ ง Continue
คาสัง่ Continue จะทางานตรงข้ามกับคาสัง่ Break คาสัง่ Continue
จะสัง่ ให้โปรแกรมทางานต่อไป
: คาสัง่ Continue กับ For คือจะเป็ นการสัง่ ให้กลับไปเพิ่มค่าให้กบั
ตัวแปรทันที
: คาสัง่ Continue กับ While คือจะเป็ นการสัง่ ให้กลับไปทดสอบ
เงื่อนไขใหม่ทนั ที
รู ปแบบ
Continue;
<?php
For ($I=1; $I<11; $I++)
{
If ($I==6) continue;
Echo ("Hello...ครั้งที่ $I <br>");
}
?>
การติดต่ อกับฐานข้ อมูล
MySQL
ฟังก์ชั่นหลักๆ ที่ติดต่ อเซิร์ฟเวอร์ , ฐานข้ อมูล
mysql_connect()
สาหรับเริ่ มการติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์ของ MySQL ซึ่งต้องใช้ชื่อโฮสต์ , ชื่อผูใ้ ช้และ
รหัสผ่าน
 mysql_select_db()
สาหรับเลือกฐานข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ของ
 MySQLmysql_query()
สาหรับรันคิวรี จากคาสัง่ SQL ที่สร้างขึ้น
 mysql_fetch_array()
สาหรับเก็บเรกคอร์ดผลลัพธ์จากคาสัง่ SQL ไว้ในอาร์เรย์
 mysql_free_result()
สาหรับปล่อยให้รีซอร์สเป็ นอิสระจากการติดต่อ
 mssql_close()
สาหรับปิ ดการติดต่อที่กาลังดาเนินอยูใ่ นปั จจุบนั
