Psychopath 2

Download Report

Transcript Psychopath 2

ไซโคปาธ: บุคคลทีม่ บี ุคลิกภาพผิดปกติ
PSYCHOPATH
ไซโคปาธี (Psychopathy)
• เป็ นบุคลิกลักษณะทางกรรมพันธุ์ของบุคคล หรื อลักษณะผิดปกติบาง
ประการโดยมีพฤติกรรมต่อต้านสังคม ความสามารถบกพร่ องในการรับรู ้
ความรู ้สึกของผูอ้ ื่น หรื อไม่แสดงการสานึกผิด และการควบคุมตนเองต่า
• คานี้มีความหมายดั้งเดิมมาจากภาษากรี ก Psyche หมายถึงจิตวิญญาณ และ
อีกคาหนึ่ง Pathos หมายถึงความทุกข์หรื อความรู ้สึก
• เป็ นคานามในภาษาอังกฤษว่า Psychopath สื บค้นย้อนหลังได้ถึงปี ค.ศ. 1885
ในภาษาอังกฤษคาว่า Patho หมายถึงโรค ดังนั้น การศึกษาวิชา Pathology นี้
มีมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1610 แล้ว ส่ วนคา Psychopathology หมายถึงการศึกษา
ความผิดปกติทางจิต
การตรวจวินิจฉัย
• คู่มือการวินิจฉัยและสถิติที่เป็ นทางการว่าด้วยความผิดปกติทางจิต (Diagnostic
and Statistical Manual of Mental Disorder, DSM) ได้วินิจฉัยบุคลิกภาพผูม้ ี
ลักษณะต่อต้านสังคม (ไม่มีสงั คม) หรื อมีบุคลิกภาพผิดปกติ (Antisocial
Personality Disorder, ASPD)
• การกาหนดลักษณะ “บุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ” หมายถึงผูม้ ีลกั ษณะเฉพาะ
ได้แก่ ผูไ้ ม่มีความวิตกกังวล/ปราศจากความกลัว แต่มีความกล้าและการติดต่อ
สัมพันธ์กบั บุคคลอื่นได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
• การใช้แบบทดสอบวินิจฉัยผูม้ ีความผิดปกติทางจิตประเภทนี้ใช้ในกระบวนการ
ยุติธรรมอย่างแพร่ หลายในบางประเทศมาเป็ นเวลานาน แม้ไม่มีการรับรองและ
การจัดประเภทโรคจิตชนิดนี้ของคู่มือจิตแพทย์
การตรวจวินิจฉัย
• สมาคมจิตแพทย์สหรัฐฯ ได้รับรองและจัดให้ไซโคปาธเป็ นโรคจิตประเภทหนึ่ง
แล้ว นอกจากนี้ คาไซโคปาธยังใช้อย่างแพร่ หลายโดยประชาชนทัว่ ไป หนังสื อ
สื่ อมวลชน ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิทยุ และสื่ ออื่น ๆ อาจทาให้ประชาชนเข้าใจผิด
ผูม้ ีบุคลิกภาพดังกล่าวแล้ว
• จิตแพทย์ชาวสหรัฐฯ ได้ทาการศึกษาทางด้านนี้มาเป็ นเวลานาน ได้แก่ เฮอร์วี เอ็ม
เคล็กลี่ (Hervey M. Cleckley) ในปี ค.ศ. 1980 เขาเป็ นผูส้ ร้างเกณฑ์การวินิจฉัยผูม้ ี
บุคลิกภาพผิดปกติชนิดนี้ในคู่มือการวินิจฉัยความผิดปกติทางจิต (DSM) ซึ่ง
เกณฑ์วินิจฉัยนี้แตกต่างจากการวัดผูม้ ีบุคลิกภาพผิดปกติ (ASPD) บางประการ
การตรวจวินิจฉัย
• โรเบิร์ต ดี แฮร์ (Robert D. Hare) นักจิตวิทยาชาวแคนาดาได้สร้าง
เครื่ องมือวัดขึ้นใหม่ ต่อจากการวิจยั ที่มีมาก่อนหน้านี้โดยเฉพาะผลงาน
ของนายแพทย์เคล็กลี่ชาวอเมริ กนั และได้รับความนิยมและนาไปใช้ใน
ประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา อังกฤษและสหรัฐฯ
• การศึกษาความผิดปกติทางบุคลิกภาพประเภทไซโคปาธ (Psychopath)
เป็ นการค้นคว้าวิจยั ผูม้ ีความผิดปกติทางจิตอย่างเรื้ อรังที่มีพฤติกรรม
ผิดปกติหรื อพฤติกรรมรุ นแรงทางสังคม เป็ นแนวทางการสื บสวน
สอบสวนอาชญากรรมที่มีความสาคัญสาหรับผูบ้ งั คับใช้กฎหมาย
ไซโคปาธและบุคลิกภาพผิดปกติ
• ไซโคปาธ หมายถึง บุคลิกภาพผิดปกติ และหมายรวมถึงกลุ่มพฤติกรรม
ทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรู้สึก การใช้ชีวติ
บุคลิกลักษณะต่อต้านสังคมและพฤติกรรมต่อต้านสังคม
• พฤติกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการหลอกลวง การเอารัดเอาเปรี ยบ
ความไม่รับผิดชอบ แรงกระตุน้ ภายในร่ างกาย ผูแ้ สวงหาแรงกระตุน้
การควบคุมตนเองไม่ดี ความรู้สึกที่มีต่อผูอ้ ื่นแบบผิวเผิน (เช่น รักใคร่
ชอบพอกันอย่างผิวเผินแล้วเลิกกันไป) ขาดความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
พฤติกรรมการกระทาผิด ความรู้สึกผิดหรื อเสี ยใจ การมีความสัมพันธ์
ทางเพศโดยไม่เลือกหน้า ไม่คานึงถึงสิ ทธิของผูอ้ ื่น ไม่มีศีลธรรมและ
ต่อต้านสังคม เป็ นต้น
ลักษณะทางกรรมพันธุ์และบุคลิกลักษณะ
• ความผิดปกติทางจิตปรากฏอย่างชัดเจนในกลุ่มบุคคลทีม่ ี
ลักษณะ ดังตัวอย่างในที่แสดงในแบบ 1-3 ลักษณะเหล่านี้แสดง
ให้เห็นลักษณะของผูม้ ีความผิดปกติที่เป็ นผูใ้ หญ่ซ่ ึ งปรากฏให้
เห็นได้ต้ งั แต่อยูใ่ นวัยเยาว์ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงชีวติ
อย่างยาวนานเป็ นผลมาจากการปฏิสมั พันธ์ระหว่างสิ่ งทีด่ ารงอยู่
ทางชีววิทยาประกอบกับอารมณ์และพลังทางสังคม (Social
Force) กล่าวอีกนัยหนึ่งเป็ นวิถีของธรรมชาติและการดารงชีวิต
ของมนุษย์ในสังคมเป็ นผูก้ าหนดร่ วมกัน
บุคลิกภาพทีผ่ ดิ ปกติ
• ทัศนคติและพฤติกรรมของผูม้ ีอาการทางบุคลิกภาพชนิดนี้มลี กั ษณะเป็ น
ผูล้ ่าเหยือ่ (Prey) หรื อ
ผูท้ าลาย (Predator) อย่างแท้จริ ง เขาจะมอง
ว่าบุคคลอื่นเป็ นคู่แข่งหรื อนักล่าเหยือ่ เหมือนกับเขา การทาความเข้าใจ
พวกไซโคปาธว่าเขาสามารถบรรลุเป้ าหมายของเขาได้อย่างไร เราต้อง
พิจารณาว่าเขาเป็ นนักล่าเหยือ่ “แบบดั้งเดิม” เช่น เขาค้นหาบุคคล
เป้ าหมาย (เหยือ่ ) ทางอินเทอร์เน็ตเพื่อหลอกลวงหรื อแม้แต่ลวงไปฆ่า
เป้ าหมายอาจเป็ นผูอ้ ่อนแอ เช่น ผูห้ ญิง ผูส้ ูงอายุ หรื อผูเ้ กษียณอายุ
หลอกลวงให้กลับมาทางานหรื อลงทุนที่มีความเสี่ ยงสูงโดยเอา
ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างสูงมาล่อ
แบบที่ 1 การทดสอบผู้เป็ นโรคจิตประเภทไซโคปาธ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ด้ านความสั มพันธ์ กบั ผู้อนื่ (Interpersonal)
ไม่มีความจริ งใจ/ฉาบฉวย/เป็ นคนมีเสน่ห์
มีความรู ้สึกอย่างมากว่าตนเองมีค่ามากกว่าคนอื่น
ชอบกล่าวเท็จเป็ นนิสยั
มีพฤติกรรมเสแสร้ง/หลอกลวง และเอารัดเอาเปรี ยบผูอ้ ื่น
ด้ านความรู้สึกและอารมณ์ (Affective)
ขาดจิตสานึก/ไม่รู้สึกผิดหรื อเสี ยใจในการกระทาผิด
มีความชอบพอผูอ้ ื่นแบบผิวเผิน
ขาดความเมตตาหรื อไม่เห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
ไม่ยอมรับว่าตนเองมีความรับผิดชอบ
แบบที่ 1
•
•
•
•
•
•
รู ปแบบการใช้ ชีวติ (Lifestyle)
แสวงหาแรงกระตุน้ ในชีวิต
มีแรงผลักจากภายในร่ างกาย
ไม่มีความรับผิดชอบ
มีความโน้มเอียงเป็ นกาฝาก
ไม่มีเป้ าหมายในชีวติ ที่เป็ นจริ ง
แบบที่ 1
พฤติกรรมต่ อต้ านสั งคม (Antisocial)
• การควบคุมพฤติกรรมตนเองต่า
• มีปัญหาพฤติกรรมในวัยเยาว์
• มีการกระทาความผิดในวัยเยาว์
• ถูกเพิกถอนการปล่อย (จากที่คุมขัง) โดยมีเงื่อนไข
• มีความสามารถในการปรับตัวเพื่อการประกอบอาชญากรรมที่หลากหลาย
• หัวข้ ออืน่ ๆ ได้ แก่
• มีคู่สมรสหลายครั้งและมีความสัมพันธ์ในเวลาอันสั้น
• มีความสัมพันธ์ทางเพศไม่เลือก
แบบที่ 2 รายการบุคลิกภาพผู้เป็ นโรคจิตไซโคปาธ
PP1-1: เป็ นผู้ไม่ มีความหวาดกลัว
• อิทธิพลทางสังคม
• ไม่มีความเกรงกลัว
• มีภูมิตา้ นทานแรงกดดัน/ไม่มีความวิตกกังวล
แบบที่ 2
PP1-2: แรงกระตุ้นต่ อต้ านสั งคม
• ตัวเองเป็ นใหญ่หรื อเป็ นศูนย์กลาง
• ต่อต้านการประพฤติปฏิบตั ิตามบรรทัดฐานสังคม
• กล่าวโทษสิ่ งอื่นนอกจากตนเอง
• ทาตัวเป็ นอิสระไม่มีการวางแผนการดารงชีวติ
รายการอืน่ ๆ
• จิตใจโหดร้ายหรื อเลือดเย็น
แบบที่ 3 การจัดประเภทพฤติกรรมผู้เป็ นโรคไซโคปาธของ
จิตแพทย์ เคล็กลี่
•
•
•
•
•
•
•
•
มีเสน่ห์อย่างผิวเผินและสติปัญญาดี
ไม่มีอาการหลงผิดและสัญญาณที่แสดงว่าความคิดไม่มีเหตุผล
ไม่มีอาการทางประสาทหรื อแสดงว่ามีจิตวิปลาส
เป็ นคนเชื่อถือไม่ได้
ไม่มีความซื่อสัตย์และไม่จริ งใจ
ไม่มีความรู ้สึกผิดหรื ออับอาย
ไม่มีแรงจูงใจอย่างเพียงพอในการยับยั้งพฤติกรรมต่อต้านสังคม
การตัดสิ นใจไม่ดีและไม่เรี ยนรู ้จากประสบการณ์
แบบที่ 3
•
•
•
•
•
•
•
•
คิดเข้าข้างตนเองอยูต่ ลอดเวลาและไม่สามารถรักผูอ้ ื่น
ปฏิกิริยาการแสดงออกที่สาคัญทางด้านความรู ้สึกและอารมณ์มีนอ้ ย
สูญเสี ยการตระหนักถึงเรื่ องใดโดยเฉพาะ หรื อไม่เข้าใจสิ่ งที่เป็ นความจริ ง
ไม่มีการตอบสนองต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลโดยทัว่ ไป
การแสดงออกของพฤติกรรมการดื่มหรื อไม่ดื่มไม่ถูกกาลเทศะหรื อไม่เหมาะสม
การขู่วา่ จะฆ่าตัวตายแต่มกั ไม่ทาจริ ง
มีเพศสัมพันธ์อย่างไม่เป็ นทางการ ไม่จริ งจัง และอยูร่ ่ วมกันได้ยาก
ประสบความล้มเหลวในการวางแผนการดาเนินชีวิต
การแสดงอาการผิดปกติ
• ผูเ้ ป็ นโรคไซโคปาธแต่ละคนมีลกั ษณะแตกต่างกัน อาการของโรคมี
ความรุ นแรงต่างกัน
• ผลการวิจยั ในปั จจุบนั แสดงว่าไซโคปาธมีอาการต่อเนื่องมา ตั้งแต่ผมู ้ ี
อาการทางจิตอย่างรุ นแรง ไปจนถึงผูม้ ีลกั ษณะทางกรรมพันธุ์อย่าง
เดียวกันแต่มีอาการไม่รุนแรง
• การประเมินผลอาการของโรคไซโคปาธทางคลินิก สาหรับผูม้ ีลกั ษณะ
ทางกรรมพันธุ์ที่ปรากฏอย่างชัดเจนหรื อในระดับที่วดั ได้ในระดับหนึ่ง
จากผูท้ ี่มีรูปแบบพฤติกรรมการใช้ชีวติ เช่นนี้ในสังคม
การแสดงอาการผิดปกติ
• ผูท้ ี่แสดงออกด้วยความรุ นแรงและมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ
โดยทัว่ ไปจะเป็ นอันตรายมากกว่าผูก้ ระทาผิดอื่น ๆ รวมทั้งมีแนวโน้ม
ในการกระทาความผิดซ้ าสูงกว่า
• ผูเ้ ป็ นไซโคปาธมักจะมีประวัติอาชญากรรมยาวนาน กระทาความผิด
หลากหลายประเภท รวมทั้งกระทาผิดร้ายแรง และการกระทาใช้ความ
รุ นแรงมากกว่าผูก้ ระทาผิดทัว่ ไป
• ผูก้ ระทาผิดไซโคปาธใช้ความรุ นแรงมากกว่ามิใช่เป็ นการกระทาตาม
สถานการณ์ แต่จะมุ่งกระทาต่อเป้ าหมายใดโดยเฉพาะซึ่ งแตกต่างจาก
การใช้ความรุ นแรงของผูก้ ระทาผิดที่ไม่เป็ นโรคนี้
ฆาตกรฆ่าหมู่ (Anders Breivik)ชาวนอร์เวย์
แอนเดอร์ บี เบรวิค
• Anders Behring Breivik (Norwegian pronunciation born 13 February
1979) is the perpetrator of the 2011 Norway attacks. In a sequential
bombing and mass shooting on 22 July 2011, he bombed government
buildings in Oslo, resulting in eight deaths, then carried out a mass
shooting at a camp of the Workers' Youth League (AUF) of the Labour
Party on the island of Utøya, where he killed 69 people, mostly
teenagers. He was convicted of mass murder, causing a fatal explosion,
and terrorism in August 2012.
ฆาตกรฆ่าหมู่ในเมืองทูซอน รัฐอริ โซนา สหรัฐอเมริ กา
ผูต้ กเป็ นเหยือ่
เด็กนักเรี ยนที่เสี ยชีวิตในโรงเรี ยน
ฆาตกรฆ่าหมู่ในโรงเรี ยนประถม
Adam Lanza
ภาพสมองของผู้ป่วยไซโคปาธ
สรุป
• ความรู้ความเข้าใจจิตใจ บุคลิกภาพ และลักษณะพฤติกรรม
ในทางกรรมพันธุ์ของผูเ้ ป็ นโรคจิตไซโคปาธทาให้เจ้าหน้าที่ของ
รัฐ ที่เกี่ยวข้องสามารถกาหนดยุทธศาสตร์ในการดาเนินการกับ
ผูก้ ระทาความผิดประเภทนี้ได้อย่างเหมาะสม ลักษณะธรรมชาติ
ในการจัดการหรื อการครอบงาผูอ้ ื่นของผูเ้ ป็ นโรคจิตไซโคปาธ
อาจทาให้เจ้าหน้าที่ประสบความยากลาบากในการได้รับข้อมูล
ข่าวสารที่ถูกต้องจากบุคคลเหล่านี้
สรุป
• เจ้าหน้าที่ผบู้ งั คับใช้กฎหมายที่ทาการสื บสวนสอบสวนผูก้ ระทา
ผิดประเภทนี้ จะได้รับการฝึ กอบรมทางด้านยุทธศาสตร์ การ
ดาเนินคดีโดยเฉพาะการสอบปากคาผูเ้ ป็ นโรคจิตเรื้ อรังชนิดนี้ ผู ้
ประกอบวิชาชีพที่ทาหน้าที่บงั คับใช้กฎหมายและรักษาความ
ปลอดภัย ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตารวจ เจ้าหน้าที่เรื อนจา และผู้
ประกอบอาชีพรักษาความปลอดภัยอื่น ๆ จาเป็ นต้องมีความ
เข้าใจผูเ้ ป็ นโรคไซโคปาธและสิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นเครื่ องบ่งชี้ผเู้ ป็ น
โรคนี้